Page 44 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 44
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
ประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ แตมิไดแจงใหทางราชการทราบหรือแจงแลวทางราชการไมไดดําเนินการตอให
หรือไมไดโฉนด เชน ชุมชนกลุมชาติพันธุ ชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมที่อยูหางไกล ก็จะไมไดรับสิทธิตามประมวลกฎหมาย
ที่ดิน และยิ่งเมื่อรัฐประกาศเขตปา และออกพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 กําหนดใหปาคือที่ดิน
ที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน ก็ทําใหราษฎรในชนบทหางไกลหรือชุมชนที่อยูกับปา กลายเปนผูไรสิทธิ
ในที่ดิน และถูกกลาวหาเปนผูบุกรุกปาทั้ง ๆ ที่เขาอยูอาศัยทํากินอยูที่เดิมของเขามาแตบรรพบุรุษ ยิ่งกวานั้น
ยังมีที่ดินซึ่งชุมชนใชสอยรวมกัน เชน ที่ไรหมุนเวียน ที่ปาใชสอย ที่สาธารณประโยชน ปาบุงปาทาม พรุ หนองนํ้า
ก็ตกเปนของรัฐตามกฎหมายที่แตละหนวยงานของรัฐใชอํานาจตามกฎหมายเขามาควบคุมดูแล อํานาจรัฐ
ในการบริหารจัดการที่ดินจึงซอนทับอํานาจของราษฎรและชุมชนที่มีสิทธิตามธรรมชาติในที่ดินและทรัพยากร
ที่เขาสืบทอดกันมาชานาน เมื่อราษฎรยืนยันสิทธิและใชที่ดินทํากินตามจารีตประเพณีของเขา จึงเกิดขอพิพาท
ขัดแยงกับหนวยงานของรัฐและเมื่อหนวยงานของรัฐบังคับใชกฎหมายเหนือกฎเกณฑตามจารีตประเพณี
จึงเกิดขอพิพาทขัดแยงและนําไปสูการละเมิดสิทธิในที่ดินและปาของราษฎร
2.3 งานวิจัยที่ดิน
ที่ดินและปาไมที่สมบูรณเปนทรัพยากรพื้นฐานที่เชื่อมโยงกับการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ
ตามวิถีชีวิตและวัฒนธรรม ตลอดจนความมั่นคงทางอาหารและสภาวะแวดลอมของสังคม โดยรวมประเทศไทย
ยังมีที่ดินที่อุดมสมบูรณพอเพียงเมื่อเทียบกับจํานวนประชากร 65 ลานคน เกษตรกรควรจะมีที่ดินเฉลี่ย
คนละ 22 ไรตามขอมูลของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร แตความเปนจริงกลับไมเปนเชนนั้น ราษฎรชาวไทย
ตองเผชิญกับปญหาการขาดแคลนที่ดินในการผลิตมาโดยตลอด นโยบายรัฐยังคงมุงกระตุนเศรษฐกิจเปดชอง
ใหนักลงทุนตางชาติเขามาซื้อขายครอบครองที่ดินไดโดยเสรี ทําใหเกิดการแกงแยงที่ดินและทรัพยากร
ที่ทวีความรุนแรงและเขมขนมากยิ่งขึ้นแทบทุกรูปแบบ ดังปรากฏในรายงานสถานการณปญหาที่ดินในสังคมไทย
มาอยางตอเนื่อง
งานวิจัยที่ดินในชวงแรกอธิบายการปฏิรูปที่ดินรัฐ เชน งานวิจัยเรื่องวิวัฒนาการของการปฏิรูปที่ดิน
ในประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีการออกกฎหมายปฏิรูปที่ดิน (พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2518) โดย วีรวัฒน อริยะ,
วิริยานันท พุทธกาลรัชธร และแล ดิลกวิทยรัตน ชี้ใหเห็นวา ปญหาความขัดแยงในการใชประโยชน
ฐานทรัพยากรธรรมชาติในสังคมไทยเกิดขึ้นมานานแลวตั้งแตยุคศักดินา ครั้งกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา
จนถึงตอนตนกรุงรัตนโกสินทร กรรมสิทธิ์ที่ดินถูกแยกเปนสองสวน พระเจาแผนดินเปนเจาของที่ดิน (Ownership)
ราษฎรไดสิทธิในการใชประโยชนทํากินแลกกับการสงสวยและเกณฑแรงงานผานระบบเจาขุนมูลนายซึ่งดูแลแทน
พระมหากษัตริยอีกทอดหนึ่ง ระบบเศรษฐกิจในชวงนี้เปนเศรษฐกิจแบบพอยังชีพ (Subsistence Economy)
ที่ดินถูกใชเปนปจจัยในการยังชีพ โครงสรางสวนบนและโครงสรางสวนลางสอดคลองสัมพันธกัน จนถึงภายหลัง
การลงนามสนธิสัญญาเบาวริ่งในป พ.ศ. 2398 ทําใหฐานทางเศรษฐกิจของไทยเปดเชื่อมตอกับระบบเศรษฐกิจโลก
เนื่องจากแรงกดดันของมหาอํานาจในการเสาะแสวงหาแหลงวัตถุดิบและตลาดสําหรับระบายสินคาและทุน
ซึ่งมาพรอมกับลัทธิการลาอาณานิคม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวรัชกาลที่ 5 ไดปรับปรุง
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข 23
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”