Page 42 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 42

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               เจาของอพยพออกจากที่ดินหรือเลิกทําประโยชนในที่ดินนั้นแลว ที่ดินนั้นจะกลับมาเปนสมบัติสวนรวม

               ผูอื่นเขาทําประโยชนตอไปได เพราะในสมัยโบราณกรรมสิทธิ์ยังไมแยกออกจากการครอบครอง เจาของ
               ตองเปนผูที่ครอบครองหรือทําประโยชนในที่ดินนั้นจึงจะมีสิทธิหวงหามในที่ดินนั้นได (ร. แลงกาตี, 2526)

                        กรรมสิทธิ์ที่ดินในประเทศไทย ปรากฏเริ่มแรกตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานี ในรัชกาลของ
               พอขุนรามคําแหงมหาราช ซึ่งทรงดําเนินรัฐประศาสโนบายสงเสริมเศรษฐกิจเกี่ยวกับการทําประโยชนในที่ดิน

               เพื่อใหไดพืชผลมาเปนปจจัยในการบริโภคและอุปโภคพอควรแกระดับการครองชีพในสมัยนั้น เมื่อราษฎร
               เขาบุกเบิกหักรางถางพงในที่ดินจนเพาะปลูกไดผลไดประโยชนแลวก็โปรดใหที่ดินนั้น ๆ เปนกรรมสิทธิ์

               ของผูออกแรงออกทุนไป ดังปรากฏในหลักศิลาจารึกหลักที่ 1 วา “ฯลฯ สรางปาหมากปาพลูทั่วเมืองทุกแหง
               ปาพราวก็หลายในเมืองนี้ ปาคาง (ขนุน) ก็หลายในเมืองนี้ หมากมวงก็หลาย ในเมืองนี้ หมากขามก็หลายในเมืองนี้

               ใครสรางไดไวแกมัน  ฯลฯ”  ไดจัดแบงองคการบริหารออกเปนรูปจตุสดมภ  คือ  เวียง  วัง  คลัง  นา
               ประจําอยูสวนกลาง การจัดเรื่องที่ดินขึ้นอยูแกกรมนา ในแผนดินสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจาอูทอง)

               (พ.ศ. 1903) ตําแหนงเสนาบดีกรมนามีชื่อเรียกวา “ขุนเกษตราธิบดี” ในแผนดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
               (พ.ศ. 1991) หรือที่เรียกวา “พระเกษตราธิบดี” ในแผนดินพระเจาปราสาททอง (พ.ศ. 2175) เรียกวา

               “เจาพระยาพลเทพเสนาบดีศรีไชยนพรัตนเกษตราธิบดี อภัยพิริยะปรากรมพาหุ” นามเจาพระยาพลเทพนี้
               ใชอยูจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร ในสมัยนี้มีกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จซึ่งตราขึ้นใชบังคับตั้งแตแผนดิน

               สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจาอูทอง) บทที่ 35, 42 และ 43 เปนแมบทสําหรับดําเนินการ โดยกําหนด
               ใหมีการจัดที่ดินซึ่งยังรกรางเปนทําเลเปลาใหราษฎรเขากนสรางใหมีประโยชนขึ้น สมัยกรุงรัตนโกสินทร

               รัชกาลที่ 1 - 2 งานที่ดินยังคงยึดหลักการตามกฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จ สมัยรัชกาลที่ 3 มีการออกหนังสือ
               สําหรับที่บาน เพื่อระงับขอพิพาทการรุกลํ้าเขตกัน สมัยรัชกาลที่ 4 มีการประกาศขายฝากและจํานําที่สวน ที่นา

               และมีการออกตราแดง ในเขตจังหวัดกรุงเกา (พระนครศรีอยุธยาอางทอง ลพบุรีสุพรรณบุรี) เปนหลักฐานแสดงวา
               มีผูมีชื่อเปนเจาของและใชในการเก็บภาษีที่นา

                        การออกหนังสือสําคัญชนิดตาง ๆ มีเพิ่มขึ้นอีกหลายชนิดในสมัยรัชกาลที่ 5 เชน โฉนดสวน
               ใบตราจอง เพื่อประโยชนในการเก็บภาษีคานา ตอมา มีปญหาเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดินสูศาลบอยขึ้น เพราะหนังสือ

               สําคัญที่เจาหนาที่ผูเก็บภาษีอากรออกใหเจาของที่ดินยึดถือไวนั้นไมอาจระงับขอพิพาทโตแยงได เนื่องจาก
               มีขอความไมกระจางวาผูใดมีสิทธิอยูในที่ดินเพียงใดอยางใด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

               ทรงประสบถึงความเดือดรอนของราษฎรในกรณีดังกลาว จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหกระทรวงเกษตร
               พาณิชยการจัดดําเนินงานเรื่องสิทธิในที่ดินใหรัดกุมขึ้น โดยมีดําเนินการออกโฉนดที่ดิน โดยใหอยูในบังคับบัญชา

               ของเทศาภิบาลมณฑลกรุงเกา
                        การออกเดินสํารวจเปนครั้งแรกในป ร.ศ. 120 (พ.ศ. 2444) โดยขาหลวงเกษตรพรอมดวยเจาพนักงาน

               กรมแผนที่ และมีพระบรมราชานุญาตใหผูที่ถือโฉนดที่ดิน เปนผูมีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน มีการออกโฉนดตราจอง
               เปนหนังสือสําคัญสําหรับที่ดินที่ไดทําประโยชนแลว ปจจุบันยังคงมีอยูในเขตมณฑลพิษณุโลก คือ จังหวัดพิษณุโลก

               พิจิตร อุตรดิตถ และสุโขทัย และจัดตั้งหอทะเบียนที่ดินแหงแรก คือ หอทะเบียนมณฑลกรุงเกาในพระราชวัง




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  21
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47