Page 41 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 41

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         ในป พ.ศ. 2535 กรมปาไมตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 และ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 นั้น ไดมีการ

                จําแนกพื้นที่ปาไมเปนเขตอนุรักษ (โซน C) จํานวน 88.23 ลานไร เขตเศรษฐกิจ (โซน E) จํานวน 51.88 ลานไร
                และเขตที่เหมาะสมตอการเกษตรกรรม (โซน A) จํานวน 7.22 ลานไร ตอมา ในป พ.ศ. 2536 กรมปาไม

                ไดสงมอบพื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่มีประชาชนเขาทํากินรวม 44 ลานไร ใหแกสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน
                เพื่อการเกษตรกรรม ซึ่งสวนหนึ่งมาจากปาเศรษฐกิจ (โซน E) ดังนั้น ปาอนุรักษ (โซน C) และปาเศรษฐกิจ

                (โซน E) จึงอยูในความรับผิดชอบของกรมปาไม ประมาณ 103.3 ลานไร
                         การใชที่ดินโดยปราศจากวางแผนที่ดี อีกทั้งขาดการจัดการเรื่องสิทธิการครอบครองและใชประโยชน

                ที่ดินที่ชัดเจนทําใหการใชที่ดินเปลี่ยนแปลงไปตามแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการปลอยที่ดินทิ้งรางรอขาย
                ทําใหเกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน เชน การชะลางพังทลายของดินถึง 108.87 ลานไร ดินที่มีปญหา

                ตอการใชประโยชนทางดานเกษตรกรรม 209.84 ลานไร ซึ่งสวนใหญอยูในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                สวนดินเค็ม ดินกรดและดินคอนขางเปนทราย อยูในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สําหรับการใชประโยชนที่ดิน

                ไมถูกตองตามศักยภาพ คิดเปนพื้นที่ 35.60 ลานไร



                2.2 สิทธิในที่ดิน
                         ในอดีตยุคโบราณยังไมมีระบบกรรมสิทธิ์ ที่ดินเปนสมบัติของสวนรวม ไมมีใครหวงหามและ

                กันเปนของตนได การเพาะปลูกในยุคนั้นยังไมมีการถือสิทธิในที่ดิน เพราะที่ดินมีมากมาย เมื่อที่ดินแหงหนึ่ง
                เพาะปลูกไมไดผลดี ก็จะอพยพโยกยายไปหาที่ดินแหงใหม นอกจากนั้น มนุษยในยุคนี้ยังสามารถทําการ

                เพาะปลูกรวมกันได โดยถือวาที่ดินเปนสวนรวมของสังคมผูทําการเพาะปลูกเพียงแตแบงปนพืชผลกันเทานั้น
                (หลวงวิจิตรวาทการ, 2523)

                         เมื่อมนุษยมาอยูรวมกันเปนสังคม และมีจํานวนคนเพิ่มมากขึ้น มีความจําเปนตองทําการเพาะปลูกใหได
                ผลดีก็ตองหาที่ดินที่ดี ซึ่งในสมัยนั้นคือที่ดินที่นํ้าขึ้นแลวนํ้าลดลง ก็เริ่มมีความจําเปนในการถือสิทธิในที่ดิน

                เพื่อแบงสรรที่ดินกันเพาะปลูก โดยเปนสิทธิเพียงชั่วคราวมีกําหนดเวลาไมเกิน 1 ป แตสิทธินี้ก็ยังไมใชสิทธิ
                สวนบุคคลสิทธิครอบครองยังเปนของพวกของหมูหรือเผา เพราะการแบงที่ดินอยางนี้ตองแบงเปนผืนใหญ ๆ

                ไมสามารถจัดแบงเปนชิ้นเล็กชิ้นนอย ตอมา เมื่อมีวิวัฒนาการดานการเพาะปลูกมากขึ้น ตองหักรางถางพง
                ตองขุดรองดึงนํ้าเขามา หรือตองขุดบอ ขุดสระกักเก็บนํ้าไวงานเหลานี้ตองใชเวลาและแรงงานมาก ทําใหเกิด

                ความหวงกันที่ดินดังกลาวจะใหคนอื่นมาเอาไปเสียไมได สิทธิในที่ดินอยางแทจริงจึงไดกําเนิดขึ้นจากการลงแรง
                สิทธินี้ยังไมเปนสิทธิสวนตัวบุคคล แตเปนของครอบครัว หมูหรือเผาซึ่งครอบครัว หมูหรือเผา ยังไมยอม

                ใหคนแตละคนแบงแยกออกไป (หลวงวิจิตรวาทการ, อางแลว) ตอมา เมื่อเผารวมกันเปนประเทศ การปกครอง
                มีความมั่นคงยิ่งขึ้น เปนเหตุใหอํานาจของครอบครัวเสื่อมลงไปมาก แตละคนมีสิทธิมากขึ้น หลักกรรมสิทธิ์

                ในที่ดินของเอกชนจึงกอตั้งขึ้น (ภาสกร ชุณหอุไร, 2528) แตกรรมสิทธิ์ในที่ดินของเอกชนยังมีลักษณะ
                ตางจากกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย เพราะในสมัยนั้นที่ดินมีอยูมาก แตคนยังมีนอย ถาใครตองการที่ดิน

                ที่จะเพาะปลูกหรือปลูกเรือนอยู ตองไปหาที่ดินในปา แลวถากถางโคนสรางที่ดินนั้นจึงจะเปนของตน แตถา




           20    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46