Page 39 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 39

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                ของมนุษย ทั้งการใชที่ดินในปจจุบัน หรืออนาคต เพื่อการเกษตร อุตสาหกรรมปาไมโดยมนุษยจะทําการ

                เปลี่ยนแปลงพื้นที่เพื่อการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ เพื่อใหการใชประโยชนจากพื้นที่ดินที่มีอยูนั้นใหเกิด
                ประโยชนมากที่สุด เกิดผลตอบแทนมากที่สุด อยางไรก็ดี ที่ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางจํากัด

                มนุษยจึงตองเรียนรูวิธีการอนุรักษเพื่อใหทรัพยากรที่ดินมีใชไดยาวนานที่สุด การใชที่ดินในระยะแรกนั้นมนุษยไมได
                คํานึงถึงขอจํากัดใด ๆ เกี่ยวกับดินและที่ดินจึงสงผลใหเกิดการทําลายดินและที่ดินอยางรุนแรงและเกิดผลกระทบ

                จากการใชที่ดินซึ่งสอดคลองกับแนวความคิดของเอิบ (2525 อางจาก สิรีภัทร ขาวมีชื่อ, 2546) ที่อธิบายวา
                เปนความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองรูถึงธรรมชาติของดินและที่ดินแตละประเภทกอนที่จะเริ่มใชประโยชน

                เพราะถาใชผิดไปแลวจะเปลี่ยนแปลงใหดีเหมือนเดิมยากและจะตองลงทุนสูงมาก
                         เราสามารถจําแนกที่ดินออกเปนประเภทตาง ๆ ไดมากมาย โดยมีการศึกษาคนควาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้

                เปนจํานวนมากแตไมมีระบบการจัดการที่แนนอน ซึ่งคลาย ๆ กับธรรมชาติที่ไมมีความแนนอนเชนกันและสามารถ
                เปลี่ยนแปลงไดเสมอ ซึ่งระบบการจัดประเภทของการใชที่ดินสามารถอธิบายและบงบอกถึงความสําเร็จของการใช

                พื้นที่ในบริเวณตาง ๆ ที่ผานมา เชน อเมริกา เปอโตริโก และหลาย ๆ บริเวณในทวีปยุโรป ขอบขายของโครงราง
                สามารถอธิบายโดยใชลักษณะทางธรณีวิทยาซึ่งจะแสดงการแบงชั้นของพื้นดินในแตละบริเวณนั้น ๆ ตามขอมูล

                ที่ไดสะสมไวเปนเวลานานจะชวยใหแผนภาพประกอบขอมูลดูชัดเจนและละเอียดมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ นักวิจัย
                จะตองทําการศึกษาเกี่ยวกับสภาพแวดลอมประกอบดวย เพื่อที่จะทําใหการจัดประเภทการใชที่ดินทําไดงายยิ่งขึ้น

                โดยการใชที่ดินของประเทศไทยแบงออกเปน 5 ประเภท คือ
                         1.  เมืองและสิ่งกอสราง (urban and built - up land) ไดแก ที่อยูอาศัย ยานการคา ยานอุตสาหกรรม

                คมนาคม และสถานที่ราชการอื่น ๆ
                         2.  พื้นที่เกษตรกรรม (agricultural land) ไดแก พื้นที่ปลูกพืชลมลุกและพืชถาวร เชน สวนผัก

                สวนผลไม พืชไร นาขาว ทุงปศุสัตว และไรหมุนเวียน
                         3.  ปาไม (forest land) ไดแก พื้นที่ปาไมทั่วไปและจัดแยกยอยไปตามประเภทของปา เชน ปาเต็งรัง

                ปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง ปาดิบเขา ปาดิบชื้น ปาชายเลน ทุงหญาธรรมชาติ และสวนปา เปนตน
                         4.  แหลงนํ้า (water sources) ไดแก พื้นที่แมนํ้า ลําธาร หนอง คลอง บึง ทะเลสาบ และแหลงกักเก็บ

                นํ้าที่สรางขึ้น
                         5.  พื้นที่วางเปลา (abandon land) ไดแก พื้นที่ปราศจากสิ่งปกคลุมรวมถึงไรราง (สถิตย, 2525)

                         ความตองการใชที่ดินขึ้นอยูกับความเหมาะสมเพื่อตอบสนองประโยชนสูงสุดของผูใชจากการที่มี
                การใชปจจัยการผลิตทางการเกษตรในระดับสูงโดยเฉพาะการใชพันธุพืชใหม ๆ การปรับปรุงระบบการปลูกพืช

                ใหเปนแบบรวมหลายชนิดหรือแบบหมุนเวียนมีผลทําใหดินเสื่อมโทรม นอกจากนี้ ยังมีการใชที่ดินผิดประเภท
                ไมเหมาะสมแตการบังคับใหเจาของที่ดินหรือราษฎรใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสมกับสมรรถนะที่ดินทําไดยาก

                อยางไรก็ตาม ที่ดินเปนทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดจึงควรใชใหเกิดประโยชนสูงสุดไปจนถึงคนในรุนตอ ๆ ไป
                (สมเจตน จันทวัฒน, 2524)







           18    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44