Page 30 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 30
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
ขอมูลขาวสารที่หนวยงานของรัฐตองจัดไวใหประชาชนเขาตรวจดู ตามหลักเกณฑ
และวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด ไดแก แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจายประจําปที่กําลังดําเนินการ
คูมือ หรือคําสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหนาที่ของเอกชน ฯลฯ
2.4) สิทธิในเรื่องทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
สิทธิเสรีภาพของประชาชนกําหนดไวในรัฐธรรมนูญในหลายมาตรา ที่สําคัญ ไดแก
มาตรา 66 “บุคคลซึ่งรวมกันเปนชุมชน ชุมชนทองถิ่นหรือชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม ยอมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟู
จารีตประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นและของชาติและมีสวนรวมในการจัดการ
การบํารุงรักษาและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืน”
มาตรา 67 “สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษบํารุงรักษา
และการไดประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพและในการคุมครอง สงเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมเพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไมกอใหเกิด
อันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตนยอมไดรับความคุมครอง
การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอคุณภาพ
สิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติ จะกระทํามิไดเวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอม
และจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน รวมทั้งไดใหองคกรอิสระ
ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคกรเอกชนดานสิ่งแวดลอมและผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาดาน
สิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว”
มาตรา 85 “ตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบฯ มีสวนรวมในการตัดสินใจ
เกี่ยวกับการกําหนดหลักเกณฑการใชที่ดิน การกระจายการถือครองที่ดิน การจัดวางผังเมือง การจัดใหมีแผนจัดการ
ทรัพยากรนํ้าและทรัพยากรธรรมชาติอื่น และสงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอม”
มาตรา 87 “การมีสวนรวมของประชาชนในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ทั้งในระดับชาติ และระดับทองถิ่น ฯลฯ”
สรุปวา สิทธิของบุคคลที่รวมกันเปนชุมชนเทาที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 มีประเด็นสําคัญอยางนอย 8 ประการ
1. สิทธิในการไดรับการยอมรับความมีอยูของชุมชน (มาตรา 66 มาตรา 67)
2. สิทธิในการดํารงอยูและดําเนินกิจการของชุมชน
3. สิทธิในการถือครองทรัพยสินของชุมชน
4. สิทธิในการธํารงรักษาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน (มาตรา 66 มาตรา 67)
5. สิทธิในการมีสวนรวมคุมครองสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
6. สิทธิในการไดรับการรับฟงจากหนวยงานของรัฐ
รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข 9
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”