Page 25 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 25

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                1.4 ขอบเขตงานวิจัย


                         1.4.1   ขอบเขตของการศึกษาวิจัย

                           1.   เนื่องจากเปนการวิจัยระยะสั้นมีระยะเวลาศึกษาเพียงหนึ่งป จึงไดกําหนดขอบเขตขอมูล

                ขอเท็จจริงที่ตองการศึกษาไดจริงจากเอกสารเรื่องรองเรียน รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                และนโยบายของรัฐที่เกี่ยวของกับที่ดินและปาไม ในพื้นที่ประเภทตาง ๆ ไดแก ที่ราชพัสดุ ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน

                (ส.ป.ก.) ที่ดินเอกชน ที่สาธารณประโยชน และที่ดินปาไม โดยไมตองลงไปสัมภาษณผูที่เกี่ยวของในพื้นที่อีก
                           2.   วิเคราะห สังเคราะหประเด็นทางนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิ

                ในที่ดินและปา  ที่ประกอบดวยพื้นที่  ไดแก  ที่ราชพัสดุ  ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.)  ที่ดินเอกชน
                ที่สาธารณประโยชน และที่ดินปาไม โดยพื้นที่แตละประเภทนี้จะอธิบายครอบคลุมถึงโครงการของรัฐที่เกิดขึ้น

                ในที่ดินแตละประเภทนั้นรวมอยูดวย
                           3.  เสนอความคิดเห็น

                            -   การปรับปรุงแกไข นโยบายและกฎหมาย ที่จะนําไปสูการคุมครองสิทธิของประชาชน
                ในเขตพื้นที่ที่ราชพัสดุ ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก.) ที่ดินเอกชน ที่สาธารณประโยชน และที่ดินปาไม

                            -   การปฏิรูประเบียบกฎหมายที่เกี่ยวของกับที่ดินและปา
                           4.   จัดเวทีวิเคราะหขอมูล โดยอนุกรรมการฯ รวมกับนักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิ รวมกัน

                วิเคราะห สังเคราะหขอมูล
                           5.   จัดเวทีนําเสนอความกาวหนา โดยเชิญนักวิชาการ ผูทรงคุณวุฒิ และหนวยงานที่เกี่ยวของ

                ชวยแสดงความคิดเห็น

                         1.4.2   กรอบคิดในการวิเคราะหการละเมิดสิทธิ

                                ในการคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในทางปฏิบัติแลวไมใชงายเลยที่จะตัดสินวา

                มีการละเมิดสิทธิหรือไม ในสังคมที่มีความไมเปนธรรมและความเหลื่อมลํ้าสูง ผูมีอํานาจทั้งหลายมักจะอาง
                หรืออาศัยนโยบายของรัฐและชองทางของกฎหมายสรางความชอบธรรมในการแยงชิงที่ดินจากราษฎรที่ยากจน

                ซึ่งครอบครองใชประโยชนที่ดินอยูเดิม โดยปราศจากหลักฐานที่กฎหมายรับรองหรือมีหลักฐานที่ไมชัดเจน
                และไมเปนปจจุบัน เชน ภ.บ.ท. 5, ส.ค. 1, น.ส. 3 ใหออกไปจากพื้นที่โดยไมมีทางหรือโอกาสในการตอสู

                ตามกระบวนการยุติธรรม ทําใหการตรวจสอบการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในบริบทของสังคมไทย
                กระทําไดยาก อยางไรก็ดี ในงานวิจัยนี้ นอกจากจะอาศัยกรอบที่เปนระเบียบกฎหมายของรัฐไทยแลว ยังใช

                กรอบสิทธิซึ่งเปนกฎกติกาสากลที่ประเทศสวนใหญทั่วโลกยอมรับ ที่ทําใหความเชื่อและแนวคิดความเทาเทียมกัน
                ทางสิทธิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยไดรับการคุมครองโดยหลักการและกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ

                รวมทั้งกฎหมายในระดับประเทศมาเปนกรอบในการวิเคราะหดวย








            4    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30