Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 34

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               1.5 หนวยงานและผูรับผิดชอบโครงการ

                        สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ. นครปฐม 73170

               โดยมี ดร.เพิ่มศักดิ์  มกราภิรมย อาจารยประจําของสถาบันฯ ทําหนาที่หัวหนาโครงการ


               1.6 วิธีการศึกษาวิจัย

                        วิธีการศึกษาวิจัย ใชรูปแบบที่หลากหลายดังนี้

                        การวิจัยเอกสาร ทั้งเอกสารรายงานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เอกสารของหนวยราชการ
               ที่เกี่ยวของ และการจัดประชุมกลุมเปาหมายเฉพาะ (focused group) จากบุคลากรผูเชี่ยวชาญดานนโยบาย

               กฎหมาย กระบวนการยุติธรรม ตลอดจนนักปฏิบัติการดานสิทธิมนุษยชน เพื่อวิเคราะหสังเคราะหประเด็น
               ทางนโยบายและกฎหมายที่ละเมิดสิทธิดานที่ดินและปาของประชาชน การวิจัยเอกสาร จะทบทวนแนวคิดหลักการ

               ที่สําคัญที่เกี่ยวของกับการวางกรอบการละเมิดสิทธิ เชน แนวคิดดานสิทธิมนุษยชน แนวคิดธรรมาภิบาล
               แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชน ตลอดจนทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของซึ่งรวบรวมรายชื่อเบื้องตนไวบางแลว

               (จาก สกว., พอช., สสส. และสถาบันการศึกษาตาง ๆ) ใหครอบคลุมประเด็นที่ดินประเภทหลัก รวมทั้ง
               การละเมิดสิทธิที่ดินและปาในตางประเทศเทาที่จะคนหาเอกสารได ตลอดจนขอมูลนโยบาย ระเบียบ กฎหมาย

               และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของใหไดมากที่สุด
                        การทบทวนเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิที่ดินและปาที่รองเรียนมายัง กสม. จะตรวจสอบ

               เพื่อคัดเลือกเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิที่ดินและปาซึ่งมีประมาณ 300 เรื่อง เพื่อจัดเขากับกลุมปญหา 5 กลุม
               คือที่ดินปาไม ที่ราชพัสดุ ที่สาธารณประโยชน ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน และที่ดินเอกชน แลวคัดเลือกกรณีศึกษา

               ที่จําแนกไวแลวในแตละกลุมใหไดประมาณ 5 - 15 กรณี โดยกําหนดเกณฑการคัดเลือกใหมีความหลากหลาย
               ดวยวิธีกระจายตัวอยางใหทั่วภูมิภาค สภาพภูมินิเวศ กลุมชาติพันธุ และเงื่อนไขเฉพาะทางกฎหมาย เชน

               การเลือกกรณีศึกษาที่ดินปาไม ก็จะเลือกใหครอบคลุมพื้นที่พิพาทในเขตปาสงวนแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา
               เขตอุทยานแหงชาติ เปนตน

                        การจัดประชุมกลุมเปาหมายเฉพาะ (focused group) จัดเปนเวทีวิเคราะหขอมูลการละเมิดสิทธิ
               ในที่ดินประเภทตาง ๆ และการวิเคราะหขอเสนอเชิงนโยบายและการปฏิรูปกฎหมาย โดยทีมงานวิจัย

               รวมกับผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่เปนนักวิชาการและผูเชี่ยวชาญดานกฎหมาย การคุมครองสิทธิมนุษยชน
               โดยจัดเวทีหลัก ๆ จํานวน 4 ครั้ง อยางไรก็ดี จะมีการประชุมปรึกษาหารือวงเล็ก ๆ แบบไมเปนทางการอีกหลาย ๆ

               ครั้งกอนและหลังการประชุมใหญ ๆ แตละครั้ง
                        จัดเวทีรายงานความกาวหนา จะจัดเวทีสัมมนาเพื่อนําเสนอและสรุปความกาวหนาของโครงการ

               เปนระยะ ๆ จํานวน 1 ครั้ง











                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  13
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39