Page 33 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 33

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                                สิทธิชุมชนจึงเปนการกําหนดหนาที่ของรัฐที่ตองใหการรับรองและคุมครองในกฎหมายของรัฐ

                ใหเทาเทียมกับสิทธิดานอื่น ๆ ดวย หรืออาจกลาวไดวา สิทธิชุมชนจะตองมีสถานะทางกฎหมายที่เทาเทียมกับสิทธิ
                และเสรีภาพดานอื่น ๆ ที่รัฐใหการรับรองอยูแลว โดยมิไดมีสถานะที่เหนือกวาสิทธิและเสรีภาพในดานอื่น ๆ หรือมี

                สถานะอํานาจเหนือรัฐ ดังนั้น ในการตรากฎหมาย การใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายของรัฐนั้น จึงควรเปน
                ไปในลักษณะการยอมรับวาสิทธิชุมชนก็มีสถานะที่เทาเทียมกับสิทธิและเสรีภาพดานอื่น ๆ ภายในรัฐดวยเชนกัน

                                1)  สิทธิในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ
                             รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติ

                ของชุมชนเอาไว 3 ประการ ไดแก สิทธิในการจัดการ สิทธิในการบํารุงรักษา และสิทธิในการใชประโยชน
                ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งนี้ สิทธิในทรัพยากรธรรมชาติทั้ง 3 ประการนี้ไมไดเปนสิทธิเด็ดขาดโดยสมบูรณของชุมชน

                เพราะรัฐธรรมนูญไดกําหนดใหสิทธิเหลานี้ตองอยูภายใต “การมีสวนรวม” ดวย
                               ดังนั้น สิทธิที่จะมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากร

                ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุลและยั่งยืน จึงหมายถึง สิทธิในการ
                มีสวนรวมไดเสียรวมกับผูอื่นในการดําเนินการเพื่อใหเกิดความเจริญงอกงาม การระวัง ดูแล และปองกัน

                และการใชใหไดผลตามที่ตองการซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และความหลากหลายทางชีวภาพ
                ที่มีอยูในบริเวณชุมชนอยางมีดุลยภาพที่ยาวนาน

                               ในการปฏิบัติตามหลักการสิทธิมนุษยชน หนาที่ของรัฐจะตองพึงเคารพ หมายถึง กฎหมาย
                นโยบาย และโครงการของรัฐ รวมถึงการปฏิบัติของเจาหนาที่รัฐจะตองไมนําไปสูการละเมิดสิทธิมนุษยชน

                ทั้งทางตรงและทางออม หรือไมดําเนินนโยบายที่จะสงเสริมใหบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ จะตองปกปองซึ่งหมายถึง
                ตองมีกฎหมาย นโยบายหรือมาตรการที่จะดูแลหรือปองกันไมใหกลุมหรือบุคคลใดทําการละเมิดสิทธิมนุษยชน

                ของบุคคลอื่น และเติมเต็มหมายถึงรัฐจะตองออกกฎหมายหรือดําเนินนโยบายเพื่อใหสิทธิมนุษยชนที่ทุกคน
                พึงไดรับไดเกิดขึ้นจริง (แอมเนสตี้, 2548)

                               กลาวโดยสรุป กรอบในการวิเคราะหประเด็นเรื่องที่ดินนั้น ไมอาจจะพิจารณาเฉพาะ
                สิทธิในที่ดิน หรือประเด็นการละเมิดสิทธิในที่ดินเทานั้น หากแตจําเปนตองพิจารณาเชื่อมโยงไปถึงเรื่อง

                สิทธิขั้นพื้นฐานในระดับตาง ๆ ที่มีสาระในการเขาถึงสิทธิในลักษณะและเงื่อนไขตาง ๆ ทั้งสิทธิมนุษยชน
                สิทธิความเปนพลเมือง สิทธิของความเปนชนเผา หรือชนพื้นเมือง สิทธิในการจัดการตนเอง สิทธิในการจัดการ

                ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งสิทธิของชุมชน โดยพิจารณาถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นและบทบาทหนาที่ที่รัฐพึงมีพึงปฏิบัติ
                ตอราษฎร

















           12    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38