Page 32 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 32

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               และสถานที่ เปนนิรันดร หมายความวา เมื่อเปนจริงในสมัยหนึ่ง อีกสมัยหนึ่งก็ตองเปนจริงดวย หากเปนจริง

               ในเวลาหนึ่งแตไมเปนจริงในเวลาหนึ่งก็ไมใชกฎเกณฑธรรมชาติ ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาตินี้ไดถูกพัฒนาเปนทฤษฎี
                                                               2
               สิทธิธรรมชาติ โดย จอหน ล็อค (John Lock) ซึ่งยืนยันวา  ปจเจกชนทุกคนตางลวนมีสิทธิ และอํานาจที่มีมาเอง
               โดยธรรมชาติ อันหมายถึง สิทธิธรรมชาติในชีวิต อิสรภาพ และทรัพยสิน อันเปนสิทธิที่ไมอาจถูกยกเลิก
               หรือขัดขวางไดจากรัฐ โดยสิทธิธรรมชาตินี้สืบที่มาจากกฎหมายธรรมชาติ และโดยที่สิทธิดังกลาวเปนของมนุษย

               เทานั้น ดังนั้น สิทธิธรรมชาติจึงมีความหมายตรงกับสิทธิมนุษยชนดวยในตัว
                                เนื้อหาของแนวคิดสิทธิชุมชนในระดับสากล ปรากฏเดนชัดในเรื่องของสิทธิชนพื้นเมือง

               (Indigenous Peoples) หรือชุมชนทองถิ่นดั้งเดิม (Indigenous Community) ในฐานะผูทรงสิทธิโดยไดมี
               การใหความหมายวา คือกลุมคนที่อาศัยอยูในดินแดนแหงใดแหงหนึ่งมากอนอยางตอเนื่องยาวนาน โดยอาศัย

               ชวงเวลากอนการกอตั้งรัฐสมัยใหม (Modern State) เปนเกณฑในการกําหนดการอยูอยางตอเนื่องยาวนาน
               ของชุมชน และยังรวมถึงกอนที่จะมีการรุกรานจากประเทศอาณานิคมเขาไปยังชุมชน ในขณะที่เนื้อหา

               ของสิทธิชุมชนมี 2 ประการ กลาวคือ ประการแรก สิทธิในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น
               ศิลปะ หรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่น ซึ่งรวมถึงสิทธิกําหนดแนวทางในการอนุรักษและปกปองมิใหถูก

               เปลี่ยนแปลงทําลายอีกดวย และประการที่สอง สิทธิในการจัดการและพัฒนาฐานทรัพยากร โดยเฉพาะ
               ทรัพยากรที่ดินที่ชุมชนใชประโยชนภายใตเงื่อนไขความยั่งยืนของฐานทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงสิทธิในการ

               ไดรับการคุมครองจากรัฐในการเขาถึงทรัพยากรดังกลาว การจํากัดสิทธินี้ลงโดยกฎหมายตองเปนไปเพื่อประโยชน
               ของสังคมเทานั้นและตองมีการจายคาทดแทนอยางเปนธรรมอีกดวย และรัฐยังตองปรับปรุงกฎหมาย

               และดําเนินการใหการรองรับสิทธิของชุมชนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                                สวนประเทศไทยไดมีการรับรองสิทธิชุมชนเอาไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

               โดยเมื่อเปรียบเทียบกับเนื้อหาของสิทธิชุมชนในระดับสากล พบวา ในดานเนื้อหามีความสอดคลองกัน กลาวคือ
               มีการรับรองทั้งสิทธิในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และสิทธิในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี

               ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือวัฒนธรรมอันดีของทองถิ่นในกฎหมาย ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 66 และ 67
               ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

                                เนื่องจากสิทธิชุมชนเปนการเรียกรองสิทธิในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ
               ในลักษณะที่เปนทรัพยสิน สิทธิชุมชนจึงมีลักษณะเปนสิทธิธรรมชาติที่ไมอาจถูกยกเลิกหรือขัดขวางไดจากรัฐ

               เชนกัน เพราะการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนนั้นก็เปนไปเพื่อดํารงรักษาชีวิตและรางกายอันเปนสิทธิ
               ขั้นพื้นฐานของการเปนมนุษย หากรัฐยกเลิกหรือขัดขวางการใชสิทธิดังกลาว ก็เทากับรัฐขัดขวางการดํารงชีวิต

               ของมนุษยคนหนึ่งซึ่งเปนประชากรของรัฐที่รัฐมีหนาที่ตองดูแลประชากรของรัฐทุกคนอยางเทาเทียมกัน








                       2 จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  11
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37