Page 159 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 159

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         เนื่องจากสิทธิชุมชนอันถือเปนสิทธิธรรมชาติที่ไมอาจถูกยกเลิกหรือขัดขวางไดจากรัฐ ทําใหในการ
                ตรากฎหมาย การใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายของรัฐ จึงควรถือเปนหนาที่ที่รัฐตองรับรองและคุมครอง

                สิทธิชุมชนใหมีสถานะที่เทาเทียมกับสิทธิและเสรีภาพในดานอื่น ๆ ดวย แตเนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมาย
                วาดวยการปาไมเกิดขึ้นในชวงเวลาที่แนวคิดสิทธิชุมชนยังไมถูกยอมรับใหมีสถานะที่เทาเทียมกับสิทธิและเสรีภาพ

                ดานอื่น ๆ ในรัฐ ประกอบกับแนวคิดในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยรัฐเพียงหนวยเดียว ทําใหบทบัญญัติ
                ของกฎหมายวาดวยการปาไมจึงไมมีบทบัญญัติใดที่กําหนดใหรัฐตองมีหนาที่อยางเครงครัดในการรับรอง

                และคุมครองสิทธิของชุมชนใหเทาเทียมกับการทําหนาที่ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในฐานะที่เปน
                สมบัติของรัฐ แมกฎหมายจะมิไดมีบทบัญญัติใดที่ปดกั้นการใชสิทธิของชุมชนอยางสิ้นเชิง แตก็ยังไมเอื้ออํานวย

                ใหการใชสิทธิในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนมีไดอยางเพียงพอและยั่งยืน
                ซึ่งอาจทําใหสถานการณปญหาการละเมิดสิทธิชุมชนอาจกลับมามีความรุนแรงไดอีกครั้ง

                         และเนื่องจากมาตรา 27 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหสิทธิ
                และเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองโดยชัดแจง ยอมไดรับความคุมครองจากองคกรของรัฐ โดยในกรณีนี้

                สิทธิชุมชนซึ่งไดถูกรับรองไวโดยชัดแจงในมาตรา 66 และมาตรา 67 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
                พุทธศักราช 2550 และยังถูกรับรองไวในคําพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองอีกหลายคดี

                วาสิทธิชุมชนที่รับรองในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยนั้น มีผลบังคับใชโดยทันที จึงถือไดวาสิทธิชุมชน
                ตองไดรับความคุมครองทั้งในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมายของหนวยงาน

                ของรัฐตาง ๆ ดวยโดยทันทีเชนกัน
                         ดังนั้น แมบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการปาไม จะมิไดเอื้ออํานวยตอการใชสิทธิของชุมชน

                อยางเพียงพอและยั่งยืนและทําใหรัฐมีทัศนคติที่ไมถือเปน “หนาที่ตามกฎหมาย” ที่ตองรับรองและคุมครอง
                สิทธิชุมชนอยางเครงครัดและเทาเทียมกับหนาที่ในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในฐานะสมบัติของรัฐ

                แตหากพิจารณาตามบทบัญญัติมาตรา 27 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ถือไดวา
                รัฐธรรมนูญไดกําหนดใหเจาหนาที่รัฐตองถือเปนหนาที่โดยทันทีนับตั้งแตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

                พุทธศักราช 2550 มีผลบังคับใชในการรับรองและคุมครองสิทธิชุมชนทั้งในการใชและการตีความกฎหมาย
                และเจาหนาที่รัฐก็มิอาจปฏิเสธหนาที่ในการรับรองและคุมครองสิทธิชุมชนได เพราะหนาที่ดังกลาวนั้นไดถูกกําหนด

                ไวอยางชัดแจงในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 อันเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐ





















         138     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164