Page 157 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 157

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         2)  ปญหาจากเนื้อหากฎหมาย

                         กฎหมายที่เกี่ยวกับปาไมมีปญหามากเพราะสาระของกฎหมายไมไดตั้งอยูบนฐานความจริง แตมี
                สมมติฐานบนมายาคติหลายประการ เชน คนจนมักทําลายปา การปราบปรามอยางเขมงวดรุนแรงจะรักษาปาไวได

                ปาที่เหลืออยูเพราะเจาหนาที่รัฐรักษา รัฐเทานั้นที่จะรักษาปาไวได จึงทําใหตัวบทกฎหมายไมเปนธรรม
                เจาหนาที่รัฐใชดุลพินิจชี้ผิดชี้ถูกเองคอนขางมาก

                         การออกกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไมที่ดีและนําไปสูการปฏิบัติได อยางนอยตองอยูบนหลักการ
                สําคัญดังตอไปนี้

                         1)  ยึดมั่นในเจตนารมณของกฎหมาย ไมปลอยใหฝายการเมืองเขามาใชชองวางหาผลประโยชน
                         2)  ตองมั่นคงในหลักการดานสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่วาที่ดินกับปาไมเปนทรัพยากรพื้นฐานที่สําคัญ

                ของชีวิตที่มนุษยทุกคนตองเขาถึงและใชประโยชนเพื่อการดํารงชีพไดอยางเหมาะสม
                         3)  ตองเนนการกระตุนจูงใจและสรางแรงบันดาลใจใหประชาชนเกิดความหวงแหนในที่ดินปา

                และฐานทรัพยากรและรักษามันเทาชีวิตมากกวาการเนนการใหรางวัลและลงโทษ
                         4)  ตองใหความสําคัญอยางเทาเทียมกันกับกระบวนการพัฒนากฎหมาย เนื้อหากฎหมาย และกลไก

                การขับเคลื่อนกฎหมายใหไปสูการปฏิบัติที่เปนที่ยอมรับของประชาชน (เพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย, 2553)
                         ประเด็นสําคัญทางกฎหมายที่ควรปรับปรุงแกไขมีดังนี้

                         การนิยามและกําหนดพื้นที่ปา โดยบทบัญญัติของกฎหมายปาไมตางนิยามพื้นที่ “ปา” ในความหมาย
                เดียวกัน คือ ที่ดินที่ยังมิไดมีบุคคลใดไดมาโดยชอบดวยกฎหมาย ทําใหแมชุมชนจะมีหลักฐานการครอบครอง

                ที่ดินมากอนที่ชัดเจนเพียงใด แตหากไมมีการดําเนินการโดยชอบตามกฎหมายที่ดิน บุคคลหรือชุมชนนั้น
                ก็ไมมีสิทธิในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติภายในที่ดินที่ตนครอบครองอยูและตองตกอยูในบังคับ

                ของกฎหมายฉบับนี้ โดยกฎหมายไมสนใจวาการที่จะใหชุมชนที่อยูในพื้นที่ปาเขาหางไกลมาแจงการครอบครองที่ดิน
                ตามกฎหมายที่ดินนั้นเปนไปไดหรือไม ทั้งนี้ ยังไมไดพิจารณาดวยวา ชุมชนเหลานี้รูหรือไมวา มีกฎหมายกําหนดให

                พวกเขาตองดําเนินการดวยหรือไม ในขณะเดียวกัน การกําหนดพื้นที่ใหเปนเขตรักษาพันธุสัตวปา เขตอุทยาน
                แหงชาติ หรือเขตปาสงวนแหงชาติ ก็เปนอํานาจของรัฐเพียงหนวยเดียวเทานั้น โดยไมไดเปดใหชุมชน

                ซึ่งอยูอาศัยในพื้นที่มาชานานไดมีสวนรวมในการตัดสินใจดวยเลย ทําใหในการพิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสม
                รัฐจึงพิจารณาเฉพาะประเด็นดานความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติเทานั้น โดยไมไดพิจารณาในประเด็น

                การครอบครองหรือใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติที่สัมพันธกับชุมชนในฐานะที่เปนปจจัยสําคัญการดํารงชีวิต
                ของชุมชน และไมไดเปดใหชุมชนซึ่งอยูอาศัยในพื้นที่มาชานานไดมีสวนรวมในการตัดสินใจดวย พื้นฐานแนวคิด

                ของรัฐในการกําหนดพื้นที่ปาดังกลาวนั้น สะทอนใหเห็นแนวคิดที่ไมยอมรับตัวตนของชุมชนและแนวคิด
                ในการหวงกันทรัพยากรธรรมชาติโดยรัฐเพียงหนวยเดียว

                         การไมยอมรับตัวตนของชุมชนที่ครอบครองและทําประโยชนอยูกอนแลวในพื้นที่ดังกลาว ทําใหชุมชน
                จึงกลายเปนผูกระทําผิดกฎหมายของรัฐ ทั้งที่หากพิจารณาตามหลักสิทธิชุมชนทั้งตามกฎหมายระหวางประเทศ

                และรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ชุมชนในพื้นที่ปาหลายพื้นที่อาจถือเปนผูทรงสิทธิชุมชน




         136     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162