Page 154 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 154

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               เปนจริงนั้น แมจะมีการรับรองสิทธิชุมชนเอาไวในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ตั้งแตฉบับปพุทธศักราช 2540

               จนมาถึงฉบับป พุทธศักราช 2550 ก็ตาม แตเนื่องจากกฎหมายหลายฉบับที่มีบทบัญญัติสวนใหญไมไดรับรอง
               สิทธิชุมชนเอาไวอยางแจงชัดและมีลักษณะที่ไมเอื้ออํานวยตอการใชสิทธิของชุมชนนั้น ตางถูกกําหนดขึ้นมา

               อยูกอนแลว โดยเฉพาะกฎหมายวาดวยปาไม เชน พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติอุทยาน
               แหงชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา

               พ.ศ. 2535 อันเปนบทกฎหมายหลักที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อใชในการจัดการทรัพยากรปาไมของประเทศ ประกอบกับ
               ทัศนคติของเจาหนาที่รัฐที่ถูกพัฒนามาจากแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบแยกสวน ดังนั้น แมจะ

               ไดมีการบังคับใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาจนถึง ฉบับป พุทธศักราช 2550
               แลวก็ตาม ประกอบกับแมในบทบัญญัติของกฎหมายตาง ๆ เหลานั้นจะมีบางมาตราที่เปดชองใหชุมชน

               ยังสามารถจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติได แตการใชและการตีความกฎหมายของเจาหนาที่รัฐ
               ในชวงเวลาที่ผานมาก็ยังเปนไปอยางแยกสวนและไมยอมรับสิทธิชุมชน โดยเห็นไดจากการที่เจาหนาที่รัฐยังคง

               บังคับใชกฎหมายในสวนที่ไมเอื้ออํานวยตอการใชสิทธิของชุมชน
                        ปญหาจากบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการปาไมและการบังคับใชกฎหมายพบวา เกิดจากเหตุปจจัย

               หลายประการ

                        1)  เหตุปจจัยทางดานแนวคิด

                        มีแนวคิดหลายประการที่เปนปญหาอุปสรรคในการบริหารจัดการที่ดินและปาที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
               และหลักนิติธรรม เชน แนวคิดแยกคนออกจากปา เปนแนวคิดพื้นฐานที่หนวยงานของรัฐใชในการกําหนดกฎหมาย

               วาดวยการปาไม การกําหนดเขตปา การกําหนดอํานาจหนาที่ของพนักงานเจาหนาที่ และการกําหนดมาตรการ
               ดําเนินการปองกันรักษาและจัดการปา ทําใหราษฎรที่อาศัยกันอยูเปนชุมชนในเขตปากลายเปนผูกระทําผิดกฎหมาย

               โดยไมมีกระบวนการตรวจสอบพิสูจนสิทธิที่เหมาะสม และราษฎรเหลานั้นจึงไมสามารถเขาไปมีสวนรวมกับรัฐ
               ในการดูแลปกปองคุมครองและใชประโยชนปาอยางยั่งยืนตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญได ประเด็นนี้

               เจริญ คัมภีรภาพ (2546) ไดใหความเห็นไววาแนวคิดกระแสหลักของกฎหมายที่เกี่ยวกับที่ดินและปาไม
               ที่ออกมาในระยะหลังนี้ มีลักษณะแยกสวนชุมชนออกจากที่ดินและปาไม ดวยกระแสความคิดหลัก คือ

                        1.  ราษฎรคือผูบุกรุกปา และเปนตัวการสําคัญในการทําลายปาไม
                        2.  การจะรักษาปาไมไดก็ดวยการนําคนเขาไปทําประโยชนในปาสงวนออกมาโดยมาตรการตาง ๆ

               ทั้งทางกฎหมายและทางปกครอง
                        3.  ปฏิเสธบทบาทของราษฎรในการรักษาปาไม สรางระบบศูนยเขาสูสวนกลาง และเสริมทัศนะ

               การปองกันรักษาปาโดยจัดสรรเจาหนาที่คอยควบคุมปราบปราม

                        แนวคิดการจัดการปา
                        บทบัญญัติตาง ๆ ในกฎหมายหลักดานปาไม มุงจัดการปาเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจโดยภาคเอกชน

               เปนหลัก ทั้งการเชาที่ดินปาไมเพื่อทําการเกษตรเชิงเดี่ยวขนาดใหญ ประกอบธุรกิจการทองเที่ยว หรือการเพาะเลี้ยง





                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  133
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159