Page 156 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 156

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               ใหเอกชนเขาไปครอบครองและบริหารจัดการในรูปแบบสัมปทานปาไม สัมปทานเหมืองแร หรือใหเชาที่ปาสงวน

               ระยะยาว เปนตน แต Illinor Ostrom โตแยงวา แนวทางการควบคุมโดยตรงจากรัฐ มาจากความเชื่อที่วา
               รัฐควรจะมีบทบาทเปนแรงขับภายนอกใหบุคคลเลือกทางที่ถูกตองและลงโทษหากมีการทําผิดกติกา แนวทางนี้

               จะประสบผลเลิศก็ตอเมื่อรัฐมีขอมูลอยางสมบูรณและสามารถบังคับใชกฎกติกาไดอยางแมนยําและทั่วถึง ซึ่งในความ
               จริงอาจไมเปนเชนนั้น เพราะรัฐไมมีขอมูลที่ดีพอ บังคับใชกติกาไดไมมีประสิทธิภาพ เพราะกลัวเสียคะแนนนิยม

               หรือกลัวกระทบนายทุน จนทายที่สุดแลวยอมไมมีใครทําตามกติกาและทรัพยากรก็ตกอยูในสภาพเปดเสรี
               ไมมีกรรมสิทธิ์ที่ชัดเจน และจบลงดวยโศกนาฏกรรมของทรัพยากรรวมเชนเดิม สวนแนวทางการใหสัมปทาน

               กับเอกชนโดยเชื่อวา เอกชนจะมีแรงจูงใจในการดูแลรักษาระบบทรัพยากรนั้นใหอยูในสภาพดี เพราะจะตอง
               ใชประโยชนจากทรัพยากรนี้ไปอีกนาน จึงไมตองการใหเสื่อมโทรมเร็วเกินควร แตก็ไมอาจเกิดผลเลิศ

               ถาทรัพยากรบางอยางมีความจํากัด เชน หากธรรมชาติของทรัพยากรรวมมีความไมแนนอน เอกชนที่จะตอง
               แบกรับความเสี่ยงแทน รวมทั้งการใหสัมปทานกับเอกชนอาจไปขัดกันหรือสงผลกระทบภายนอก (Externalities)

               กับวิถีการดําเนินชีวิตของชาวบานในชุมชน และกลายเปนความขัดแยง ดังนั้น ทั้งการควบคุมโดยตรงจากรัฐ
               และการใหสัมปทานกับเอกชนก็อาจไมชวยใหการบริหารจัดการทรัพยากรรวมบรรลุผลเลิศแตอยางใด


                        แนวคิดเรื่องสิทธิชุมชน
                        ผลจากแนวคิดแยกคนออกจากปาและแนวคิดความเปนเอกภาพในการบริหารจัดการปาและทรัพยากร

               เพื่อมุงประโยชนสูงสุดทางเศรษฐกิจ ทําใหการรับรูและเคารพในสิทธิของชุมชนทองถิ่นในการดูแลรักษา
               และใชประโยชนจากปา รวมทั้งการจัดการนํ้าระบบเหมืองฝายซึ่งเปนรูปแบบการจัดการทรัพยากรบนฐานความรู

               ภูมิปญญาของชุมชนบิดเบือนไปจากความเปนจริง ในทางปฏิบัติเจาหนาที่หนวยงานปาไมในพื้นที่โดยเฉพาะ
               หนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการที่ดินปาไมและหนวยงานสงเสริมปาชุมชนก็มีความเขาใจในองคความรู

               และภูมิปญญาในการจัดการปาของชุมชน เอกสารของสํานักงานปาชุมชน กรมปาไมจํานวนมากก็ยืนยันขอมูล
               เหลานี้ แตเนื่องจากบทบัญญัติในกฎหมายปาไมทุกฉบับไดใหอํานาจแกพนักงานเจาหนาที่รัฐในการควบคุม

               การบริหารจัดการปาแตเพียงฝายเดียว กฎหมายปาไมเกิดขึ้นมานานกอนแนวคิดสิทธิชุมชนจะเปนที่ยอมรับ
               และเขียนไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญจึงไมไดรองรับสิทธิชุมชน ทําใหสิทธิชุมชนในแวดวงปาไมจึงถูกใหความสําคัญ

               เปนเพียงแนวความคิดเทานั้น ตราบใดที่การใชสิทธิของชุมชนไมกระทบกฎหมายปาไมมาก ๆ พนักงานเจาหนาที่
               ก็จะทําเปนไมรูไมเห็น แตเมื่อตองกระทบกับอํานาจตามกฎหมาย เชน การทําไรหมุนเวียน การตัดไมในปา

               ไปใชสอย หรือการลาสัตวเพื่อเปนอาหาร ซึ่งทวนกระแสการอนุรักษปาแบบตะวันตกหรือกระทบกับนโยบาย
               ของรัฐ ชุมชนก็จะถูกกระทําโดยวิธีจํากัดการใชสิทธิ เชน ถูกจํากัดไรไมใหใชระบบหมุนเวียนพื้นที่เพาะปลูก

               หรือหามเผาเศษไมปลายไมเพื่อเตรียมพื้นที่ทําไร และยิ่งในชวงกระแสสิ่งแวดลอมและกระแสโลกรอนแรง ๆ
               และรัฐมีนโยบายปลูกฟนฟูปาโครงการขนาดใหญทั้งของรัฐและภาคเอกชน ชุมชนก็มักจะไดรับผลกระทบสูญเสีย

               ที่ทํากินจากโครงการปลูกปาทั้งหลาย








                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  135
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161