Page 158 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 158

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               ที่รัฐตองยอมรับและใหการคุมครองการใชสิทธิของชุมชน โดยประเด็นปญหานี้ยังเชื่อมโยงไปถึงปญหาอันเกิดจาก

               การทําหนาที่ของผูใชกฎหมายอีกดวย ที่พบวา เจาหนาที่รัฐผูใชกฎหมายสวนใหญมีทัศนคติทางลบกับชุมชน
               ในเขตปาไมเขาใจบริบททางสังคม และขาดความรูความเขาใจและศิลปะในการทํางานกับชุมชนและมักเจาหนาที่

               ใชดุลพินิจมากเกินไปและมักใชไปในทางที่มิชอบ
                        ปญหาการหามใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ปา การตัดสิทธิหามราษฎรใชประโยชน

               ทรัพยากรธรรมชาติในเขตปาโดยมิไดพิจารณาวาวิธีการใชนั้นมีความยั่งยืนหรือเปนการทําลาย จึงขัดหลัก
               สิทธิมนุษยชนที่เปนสากล และขัดกับรัฐธรรมนูญที่มีเจตนารมณใหชุมชนมีสิทธิที่จะอนุรักษหรือฟนฟูจารีต

               ประเพณีภูมิปญญาทองถิ่น และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ
               และสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและยั่งยืนตามมาตรา 66 ทั้งยังไมสอดคลองกับหลักธรรมาภิบาลและหลักนิติธรรม

               เพราะชุมชนมีการใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในการดํารงวิถีชีวิตดวยกฎเกณฑและกติกาที่ชุมชนของเขากําหนด
               ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวา การหามดังกลาวนั้น แทบจะทําใหชุมชนไมอาจดํารงวิถีชีวิตอยูไดเลย

                        อํานาจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เกิดขึ้นเนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายกําหนดใหพนักงาน
               เจาหนาที่เทานั้นที่มีอํานาจ “จัดการ” ใด ๆ ในพื้นที่ปา ดังนั้นเมื่อเจาหนาที่ของหนวยงานปาไมเปนผูรางกฎหมาย

               เปนผูใชบังคับกฎหมาย ติดตามการใชกฎหมาย และปรับปรุงแกไขกฎหมายกันเอง ซึ่งเปนกระบวนการจัดการ
               ที่รวบอํานาจไวที่หนวยงานเดียวนั้น ยอมทําใหกฎหมายที่บังคับใชมีลักษณะที่ไมโปรงใส และไมเปนธรรม

                        ผลของเนื้อหาในกฎหมายและผูใชกฎหมายที่มีลักษณะเชนนี้ จึงทําใหมีประชาชนจํานวนมาก
               อยูอาศัยทํากินโดยผิดกฎหมาย ตัวเลขป 2544 มีประชาชนประมาณ 4.6 แสนครัวเรือน หรือ 1 ใน 5

               ของประชากรไทยตองอยูอาศัยทํากินโดยผิดกฎหมายปาไมสะทอนใหทราบถึงความผิดพลาดบกพรองของการใช
               อํานาจที่ไมเปนธรรมเชนนี้

                        ทั้งนี้ แมวาชุมชนจะมีวิถีวัฒนธรรมและความเชื่อในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ
               ในรูปแบบที่ไมกระทบกับระบบนิเวศทางธรรมชาติซึ่งก็เปนไปตามเจตนารมณของกฎหมาย แตก็ไมอาจดําเนินการ

               ใด ๆ ได เพราะขัดกับบทบัญญัติของกฎหมาย เชน กรณีการดําเนินนโยบายโฉนดชุมชนที่จนถึงขณะนี้
               ก็ยังไมสามารถดําเนินการไดโดยเฉพาะในพื้นที่ปาอนุรักษ เนื่องจากกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

               กลาววา เพราะกฎหมายปาไมไมไดเปดชองใหดําเนินการได โดยหากจะดําเนินการตามนโยบายดังกลาว
               ก็ตองเพิกถอนพื้นที่ปาออกจากกฎหมายที่บังคับใชอยูเทานั้น ดังนั้น แมในบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยปาไม

               จะมิไดปดกั้นการใชสิทธิของชุมชนในการจัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ แตก็มิไดเอื้ออํานวย
               ตอการใชสิทธิของชุมชนดวยเชนกัน เนื่องจากกฎหมายกําหนดใหพนักงานเจาหนาที่เทานั้นที่มีอํานาจดําเนินการ

               ในพื้นที่ปาได จึงทําใหการใชสิทธิของชุมชนดังกลาวตองขึ้นอยูกับดุลพินิจในการบังคับใชกฎหมายของเจาหนาที่
               ผูมีอํานาจตามกฎหมาย ซึ่งหากเจาหนาที่มีวิธีคิดที่ไมยอมรับสิทธิชุมชน ก็อาจจะบังคับใชกฎหมายในลักษณะ

               ที่ละเมิดสิทธิชุมชนได









                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  137
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163