Page 161 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 161

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         โดยหลักการแลว นโยบายปาไมที่ดีจะชวยใหมีแนวคิดทิศทางการจัดการที่ดินและปาที่ชัดเจน
                ยังชวยใหการคุมครองรักษาและจัดการใชประโยชนที่ดินปาไมมีประสิทธิภาพ แตนโยบายปาไมปจจุบันนอกจาก

                ไมสมสมัยแลวยังขาดมิติทางสังคมและการพัฒนา และยังมิไดคํานึงถึงหลักการดานสิทธิมนุษยชน นโยบายปาไม
                หลายขอจึงนําไปปฏิบัติไมไดหรือบางขอที่นําไปปฏิบัติก็ทําใหเกิดความขัดแยงกับราษฎรในทองถิ่น จึงควรทบทวน

                นโยบายปาไมเสียใหม ดังนี้
                         1.  กําหนดหลักการสําคัญคือเนนความสามารถนําไปปฏิบัติได กลาวคือจะตองปรับปรุงใหสอดคลอง

                กับบริบททางสังคมและการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป
                         2.  มุงการตอบสนองปญหาความตองการของชุมชนทองถิ่นและประเทศชาติโดยคํานึงถึงการมี

                สวนรวมของทุกภาคสวน
                         3.  วัตถุประสงคสําคัญของนโยบายปาไมแหงชาติควรเนนความสมดุลของการปองกันรักษาปาธรรมชาติ

                การฟนฟูปาโดยกระบวนการทางธรรมชาติและการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น และการจัดสรรทรัพยากร
                อยางเปนธรรมเทาเทียมกัน

                         4.  ควรจะตองใหความสําคัญกับสิทธิของราษฎรและชุมชนในเขตปาและชวยสงเสริมใหชุมชน
                ในเขตปามีการวางแผนการใชที่ดินของชุมชนและใชสิทธิในการบริหารจัดการที่ดินปาไมรวมกับรัฐเพื่อใหเกิดประโยชน

                ทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมกับชุมชนทองถิ่นและประเทศชาติอยางสมดุลยั่งยืน
                         5.  กลไกการจัดการความขัดแยง ควรเนนการแปลงเปลี่ยนความขัดแยงเปนความรวมมืออยาง

                สรางสรรคและการบริหารจัดการความขัดแยงใหเปนธรรมดวยสันติวิธี
                         การปรับปรุงแกไขกฎหมาย

                         เพื่อใหกฎหมายปาไมทุกฉบับมีความสมสมัยและสอดคลองกับบริบทและสถานการณของสังคมปจจุบัน
                และกฎหมายไมซํ้าซอนระหวางหนวยปฏิบัติดวยกัน จึงมีขอเสนอ ดังนี้

                         1.  ควรปรับปรุงกฎหมายใหมีความเปนเอกภาพ เชื่อมโยงและสอดคลองกับการจัดการที่ดิน
                และทรัพยากรธรรมชาติดานอื่น ๆ ดวยการนํากฎหมายปาไมทุกฉบับมาบูรณาการเปน ”ประมวลกฎหมายปาไม”

                ที่มีลักษณะเปนกฎหมายสงเสริม และสนับสนุนราษฎรในทองถิ่นใหมีอํานาจและบทบาทหนาที่ในการคุมครอง
                และจัดการใชประโยชนปาอยางสมดุลยั่งยืน

                         2.  ปรับหลักคิดกฎหมาย เพื่อใหกฎหมายปาไมใหมทันสมัยเปนปจจุบัน จึงควรปรับเปลี่ยนหลักคิด
                ของกฎหมายปาไมจากหลักการใชอํานาจควบคุมบังคับหาม/ใหทําสิ่งตาง ๆ มาเปนหลักคิดทางการสงเสริม

                สนับสนุนหรือกระตุนจูงใจใหราษฎรเห็นคุณคาความสําคัญของที่ดินและปา และรวมมือกันสรางกฎกติกา
                และขับเคลื่อนการทํางานเพื่อปกปองคุมครองที่ดินปาไมและทรัพยากรใหมีความสมบูรณและเกิดประโยชนแกสังคม

                         3.  การออกแบบโครงสรางอํานาจในกฎหมายแบบมีสวนรวมในแนวราบมากขึ้น เสนอใหเนน
                การมีสวนรวมของผูที่เกี่ยวของทุกฝายแบบพหุภาคี (Multi - stakeholders participation) มีการกําหนด

                บทบาทและอํานาจหนาที่ของผูที่เกี่ยวของไวในกฎหมายปาไมใหชัดเจน ทั้งกลุมองคกรประชาชน องคกรชุมชน
                องคการปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนหนวยงานรัฐดานอื่น ๆ ในทองถิ่นที่มีบทบาทสําคัญในการดูแลรักษา




         140     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166