Page 155 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 155
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
สัตวปา การคาสัตวปาเชิงพาณิชย ซึ่งใหอํานาจเจาหนาที่มากในการใชดุลพินิจในการอนุญาต และที่ผานมา
เมื่ออนุญาตไปแลวก็สรางปญหาขึ้นมากมาย เชน ทําลายปาสรางรีสอรทแลวก็ไดรับการอนุญาตใหเชาที่ดินทําธุรกิจ
รีสอรทตอได หรือเพาะเลี้ยงสัตวปาและก็มีการสวมรอยคาสัตวปาจากในปา โดยไมสามารถควบคุมได
จนสัตวปาหลายชนิดแทบจะสูญพันธไป แตไมมีแมแตมาตราเดียวที่ใหโอกาสราษฎรที่ยากจนหรือเกษตรกร
รายยอยไดใชสิทธิอนุญาตเขาทําประโยชนที่ดินในเขตปาได และแมจะมีโครงการจัดที่ดินปาไมหรือนําที่ดินปาไม
มามอบให ส.ป.ก. ทําการปฏิรูปที่ดิน แตสุดทายก็ไมอาจชวยใหราษฎรในเขตปาไดอยูอาศัยทํากินไดอยางถาวร
ยั่งยืน
รับรองสิทธิหรือใหสิทธิราษฎรและชุมชนไดดูแลรักษาและใชประโยชนจากปาตามจารีตประเพณี
และวัฒนธรรมการอยูกับปาที่มีอยูเดิมของเขาและก็พิสูจนแลววาทําใหปาอยูไดชุมชนอยูได ไดดําเนินการตอไป
แนวคิดเรื่องปาเสื่อมโทรมและการฟนฟูปา
การแกไขปญหาปาเสื่อมโทรมสิ้นสภาพใหคืนสภาพเดิมนั้น บทบัญญัติมาตราที่ 20 ใหอธิบดีกรมปาไม
อนุมัติรัฐมนตรีมีอํานาจอนุญาตเปนหนังสือใหราษฎรเขาไปบํารุงปา หรือปลูกสรางสวนปา หรือไมยืนตนไดในพื้นที่
ไมเกิน 20,000 ไร หากเกินตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี บทบัญญัติมาตราที่ 20 นี้จึงเปดโอกาส 2 ประการ
1) ทําใหเกิดการทําลายปาใหเสื่อมโทรมเพื่อใหเขาเกณฑขออนุญาต และ 2) ใหนายทุนเขาไปลงทุนทําสวนปา
ตามระบบอุตสาหกรรมได นายทุนบางรายขอเชาที่ดิน โดยอางวาจะปลูกสวนปาหรือไมยืนตน แตความจริงแลว
ไดใชที่ดินปาไมไปในทางอื่น เชน ปลูกสราง รีสอรท หรือทําสนามกอลฟ เปนตน ซึ่งถือวาผิดหลักเกณฑ
การเชาที่ บทบัญญัติมาตราที่ 20 กําหนด ไว 2 ประเภท คือ
1. ตองเปนปาเสื่อมโทรมที่ไมสามารถกลับฟนคืนดีตามธรรมชาติได ตามมาตรา 16 ทวิ และ
2. การเชานั้นตองทําเพื่อการบํารุงปา หรือปลูกสรางสวนปา หรือไมยืนตน
ปญหาจากบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยการปาไมพบวา แนวคิดที่ใหสิทธิกับรัฐและเอกชนโดยไมยอมรับ
สิทธิในการใชทรัพยากรธรรมชาติรวมกันของราษฎร มีการถกเถียงกันมานาน ดังแนวคิด “โศกนาฏกรรม
ของทรัพยากรรวม” (The Tragedy of the Commons) ที่นําเสนอตัวอยางโดย Garrett Hardin ในป ค.ศ. 1968
ที่เชื่อวาหากปลอยใหใชทรัพยากรไดอยางไมจํากัด (Open Access to All) ดังกรณีตัวอยางทุงหญาเลี้ยงสัตว
ทายที่สุดทุงหญาก็จะถูกใชประโยชนเกินกวาที่จะฟนฟูตัวเองไดและเสื่อมสภาพลงอยางรวดเร็ว และ “ตรรกะวาดวย
การกระทํารวม ” (The Logic of Collective Action) ที่วาในความรวมมือใด ๆ ก็ตาม เพื่อผลประโยชนของสังคม
แลวจะมีคนที่ไมทําอะไรและเอาประโยชนฟรี ๆ (Free Rider) จากความรวมมือดังกลาวเสมอ จึงไมมีใครอยากทํา
เพื่อสังคม ผลก็คือ แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรจึงมุงไปสูขอสรุปวา ตองมีผูรับผิดชอบโดยตรงในการกํากับ
ดูแลทรัพยากร เพื่อไมใหทรัพยากรถูกใชมากเกินไป ซึ่งหากไมใชการบริหารจัดการแบบสินคาเอกชนก็ควรเปนแบบ
สินคาสาธารณะ และนํามาสูขอสรุปที่วาถาไมใชการดูแลควบคุมโดยตรงจากรัฐ ก็ตองเปนการใหเอกชนบริหารจัดการ
(Privatization) นั่นเอง ตัวอยางประเทศไทยที่ชัดเจนคือ แนวนโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรในลักษณะที่รัฐ
เขาไปจัดการเอง ในรูปแบบของปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา หรือกําหนดกรรมสิทธิ์
134 รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”