Page 160 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 160

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               4.6 สรุปและขอเสนอแนะ

                        เพื่อปองกันหรือลดการละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินปาไม จึงมีขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแกไข

               นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวของกับที่ดินปาไมดังนี้
                        นโยบายปาไมแหงชาติ

                        สาระสําคัญของนโยบายปาไมแหงชาติ ซึ่งกําหนดไว 20 ขอ มีประเด็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพ
               ของประชาชน เกี่ยวกับการกําหนดพื้นที่ปาในขอ 4 การกําหนดพื้นที่ความลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอรเซ็นต

               ขึ้นไปไวเปนพื้นที่ปาไมในขอ 17
                        ประเด็นการกําหนดใหมีพื้นที่ปาไมอยางนอยรอยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ เพื่อประโยชน 2 ประการ

               คือ ปาเพื่อการอนุรักษรอยละ 15 และปาเพื่อเศรษฐกิจรอยละ 25 ประเด็นนี้มีปญหาเพราะเจาหนาที่มักอางพื้นที่
               ปาปจจุบันยังไมครบเปาหมายจึงประกาศเขตปาเพิ่มขึ้นในพื้นที่ตาง ๆ ซึ่งในจํานวนนั้นไมไดมีสภาพเปนปาแลว

               และในทางปฏิบัติกลับตรงกันขาม ปจจุบันรัฐประกาศพื้นที่ปาเพื่อการอนุรักษเพิ่มขึ้นกวารอยละ 25 ทั้ง ๆ ที่พื้นที่
               ราวครึ่งหนึ่งของพื้นที่ประกาศเปนพื้นที่ที่ชุมชนใชประโยชนทั้งเปนที่อยูอาศัย ที่ทํากิน ที่สาธารณะ และที่ปาใชสอย

               ของชุมชน จึงควรทบทวนการกําหนดพื้นที่เปาหมายปาไมของชาติเสียใหมใหสอดคลองกับบริบททางสังคม
               โดยกระบวนการที่มีชุมชนเปนฐาน สรางการมีสวนรวมของชุมชนในการกําหนดเขตปาประเภทตาง ๆ ตั้งแต

               ระดับหมูบาน ตําบล ขึ้นมาถึงจังหวัดและกลุมพื้นที่ตามสภาพภูมินิเวศ แนวทางนี้อาจจะทําใหพื้นที่ปา
               ของประเทศเกินเปาหมายรอยละ 40 ก็ได แตที่สําคัญคือจะทําใหการกําหนดเขตปาในแตละทองถิ่นสอดคลอง

               กับสภาพภูมินิเวศและระบบสังคมและเศรษฐกิจในทองถิ่นนั้น ๆ
                        ประเด็นการกําหนดพื้นที่ลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอรเซ็นต ขึ้นไปไวเปนพื้นที่ปาไม โดยไมอนุญาตใหมีการ

               ออกโฉนด หรือ น.ส.3 ตามนโยบายปาไมขอ 17 เห็นวาไมสอดคลองกับบริบททางสังคม โดยเฉพาะในบางพื้นที่
               เชน จังหวัดเชียงใหม นาน แมฮองสอน หรือในพื้นที่ภาคใต ซึ่งภูมิประเทศสวนใหญเปนภูเขา มีชุมชนอาศัยทํากิน

               อยูมานาน มีระบบการใชที่ดินที่ยั่งยืนและสอดคลองกับระบบนิเวศเชนระบบไรหมุนเวียนในภาคเหนือ ระบบปายาง
               สวนสมรม และสวนดุซงในภาคใต ระบบเกษตรผสมผสานกับการเลี้ยงสัตวในภาคเหนือและภาคตะวันออก

               เฉียงเหนือ ในทางปฏิบัติจึงไมสามารถกําหนดพื้นที่ลาดชันโดยเฉลี่ย 35 เปอรเซ็นตเปนพื้นที่ปาไดทุกพื้นที่แบบ
               เหมารวม ตองพิจารณากันเปนพื้นที่ไปรวมทั้งพื้นที่ที่ลาดชันเฉลี่ยตํ่ากวาเกณฑก็ยังสามารถกําหนดเปนพื้นที่ปาไดถา

               ยังมีสภาพปาเดิมที่สมบูรณหรือมีความจําเปนในดานการปกปองสภาวะแวดลอม ซึ่งสามารถกระทําได
               ถายอมรับกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในทองถิ่น ดวยการสรางกลไกการทํางานรวมกันระหวางประชาชน

               ทองถิ่นกับเจาหนาที่รัฐ
                        ในสวนสาระที่เขียนไวดีแลวแตไมนําไปปฏิบัติอยางจริงจังเชน ในขอ 9 เรงรัดปรับปรุงการวางผังเมือง

               และกําหนดพื้นที่ที่อยูอาศัย พื้นที่ชนบทและพื้นที่เกษตรในแตละจังหวัดใหแนนอน เพื่อปองกันการบุกรุก
               พื้นที่ปาไม และขอ 2, 5, 12 และขอ 19 ที่กลาวถึงภาคเอกชน ควรจะตองใหความสําคัญกับราษฎรในทองถิ่น

               ซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศที่อยูใกลชิดกับทรัพยากรปาไมไดมีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจในแผน
               และโครงการปาไมในดานตาง ๆ




                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  139
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165