Page 163 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 163

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                         การลดปญหาการละเมิดสิทธิราษฎรในกรณีแนวเขตปาทับเขตที่ดินของราษฎรและชุมชน ควรจะตองปรับ
                เปลี่ยนวิธีการกําหนดเขตปาการขยายหรือเพิกถอนเขตปา ใหราษฎรในเขตปาและองคกรสวนทองถิ่น

                มีสวนรวมในการตัดสินใจใหไดขอยุติในระดับพื้นที่
                         7.  การตรวจสอบพิสูจนสิทธิ์ การตรวจสอบพิสูจนสิทธิซึ่งทํามาตั้งแตป 2541 ตามมติ ครม.

                30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ซึ่งทําไปไดเพียงจํานวนไมกี่ราย ควรจะตองทบทวนกระบวนการทํางานโดยเพิ่ม
                การมีสวนรวมของราษฎรที่ไดรับผลกระทบและองคกรปกครองสวนทองถิ่นในกระบวนการตัดสินใจ สําหรับ

                หลักฐานการพิสูจนสิทธิ ควรจะตองยอมรับหลักฐานพยานบุคคลและหลักฐานทางประวัติศาสตรของชุมชน
                เพิ่มเติมไปจากหลักฐานภาพถายทางอากาศดวย และควรเรงรัดสํารวจขอมูลใหแลวเสร็จในป 2556

                         8.  การแกไขนิยามปา ตามมาตรา 4 พ.ร.บ. ปาไม พุทธศักราช 2484 (1) “ปา” หมายความวา
                ที่ดินที่ยังมิไดมีบุคคลไดมาตามกฎหมายที่ดิน สําหรับ พ.ร.บ. ปาสงวนแหงชาติ “ปา” หมายความวา ที่ดิน

                รวมตลอดถึงภูเขา หวย หนอง คลอง บึง บาง ลํานํ้า ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลที่ยังมิไดมีบุคคล
                ไดมาตามกฎหมาย

                         ตามนิยามนี้พื้นที่ไรนาของราษฎรในชนบทตลอดจนไรหมุนเวียนของชาวเขาทั้งหลายก็มีสถานภาพ
                เปนปาตามกฎหมายปาไมทั้งนั้น การถางหญาถางปาเพื่อทําไรหมุนเวียน ทํานาหรือปลูกไมผลยอมมีความผิด

                ฐานบุกรุกแผวถางทําลายปาตามมาตรา 54 แหง พ.ร.บ.ปาไม พุทธศักราช 2484 ทั้งสิ้น ซึ่งเปนสิ่งที่ไมนา
                จะถูกตอง เพราะทําใหราษฎรนับลานครัวเรือนที่ทํามาหากินอยูตามปาเขามาแตบรรพบุรุษรวมทั้งชุมชน

                ที่ยังไมไดรับเอกสารสิทธิที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินกลายเปนผูกระทําผิดกฎหมายทั้งสิ้น
                         เพื่อใหสอดคลองกับความเปนจริงและไมละเมิดสิทธิของราษฎรและชุมชนในการใชประโยชนจากที่ดิน

                ปาไมและทรัพยากรในเขตปาเชนแหลงนํ้า พันธุพืชพันธุสัตว ที่มีสืบตอกันมาตามจารีตดั้งเดิม จึงควรปรับปรุงแกไข
                นิยามคําวา “ปา” ใหมีความหมายเปนปาหรือที่ดินที่มีสภาพปาปกคลุมจริง ๆ และไมควรไปนิยามความหมายปา

                ที่เปนการรอนสิทธิของราษฎรและชุมชนที่ครอบครองใชประโยชนที่ดินมาแตเดิม
                         9.  ควรทบทวนเพื่อปรับปรุงแกไขมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ซึ่งหนวยงาน

                ดานปาไมของกระทรวงทรัพยากรฯ ใชเปนแนวทางการทํางานจัดการปญหาพิพาทขัดแยงกับราษฎรในทองถิ่น
                เพราะตั้งแตมีมติคณะรัฐมนตรีจนถึงปจจุบันเปนเวลา 15 ปแลว หนวยงานปาไมก็ยังตรวจสอบพิสูจนสิทธิราษฎร

                ไมเสร็จ และพื้นที่ที่สํารวจมีขอมูลชัดแจงแลวก็ไมมีกระบวนการเจรจาคลี่คลายความขัดแยงแตอยางใด หลายพื้นที่
                แมจะพิสูจนสิทธิวามีสิทธิมากอนประกาศเขตปาก็ยังถูกจํากัดการใชประโยชนที่ดิน ถูกจํากัดการพัฒนา

                บางก็ยังถูกจับกุมและทําลายพืชผลอาสิน เชน การตัดฟนตนยางพารา สะทอนใหเห็นวาการดําเนินการ
                ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ไมประสบความสําเร็จหรืออาจกลาววาลมเหลวก็วาได

                เพราะขาดการทํางานความตอเนื่องใหเสร็จ และยังขาดการมีสวนรวมอยางเขมแข็งและมีคุณภาพของผูที่เกี่ยวของ











         142     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168