Page 153 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 153

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                4.5 วิเคราะหการละเมิดสิทธิในที่ดินปาไม

                         หลักคิดของการบริหารจัดการที่ดินปาไมที่นําไปสูแนวทางปฏิบัติคือนโยบายปาไมแหงชาติที่ยังใชอยู
                ในปจจุบัน นโยบายนี้นั้นเกิดขึ้นจากขอเสนอแนะใหมีการจัดตั้ง “คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ”

                ซึ่งคณะกรรมการรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจไดมีมติเห็นชอบใหมีคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติเมื่อวันที่
                8 ตุลาคม พ.ศ. 2527 และคณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบนโยบายปาไมแหงชาติที่คณะกรรมการนโยบายปาไม

                แหงชาติเสนอเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2528 รวมทั้ง ยังมีนโยบายดานปาไมปรากฏอยูในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                และสังคมแหงชาติเกือบทุกฉบับ

                         จากการประกาศใชนโยบายปาไมแหงชาติเมื่อป 2528 ทําใหกรมปาไมไดเรงประกาศเขตปาอนุรักษ
                ทั้งอุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา และปาตนนํ้าชั้น 1 เอ แตอีกดานหนึ่งนั้น รัฐไดสนับสนุน

                ภาคเอกชนใหเขามาดําเนินการสงเสริมการปลูกปาเศรษฐกิจเชิงพาณิชย และการสงเสริมการทองเที่ยวในพื้นที่ปา
                โดยที่ไมมีมาตรการในการอนุรักษรองรับ

                         ตัวอยางที่สะทอนใหเห็นถึงความขัดแยงระหวางนโยบายปาไมและแนวทางปฏิบัติของรัฐ และปญหา
                ความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากนโยบายของรัฐในดานปาไมที่ละเมิดสิทธิของชุมชนนั้นคือ กรณีเมื่อป 2535 ไดมีมติ

                คณะรัฐมนตรีจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่มีจํานวน 147 ลานไร
                ประกอบดวยปาอนุรักษ 88 ลานไร ปาเศรษฐกิจ 52 ลานไร และพื้นที่เกษตรกรรม 7 ลานไร แตจากการสํารวจ

                โดยภาพถายในป 2536 พบวา ประเทศไทยมีพื้นที่ปาจริงเพียง 83 ลานไร ซึ่งหมายความวา มีการประกาศ
                ปาสงวนแหงชาติทั้งหมด รวมถึงปาอนุรักษเกินกวาสภาพปาที่มีอยูจริงถึง 64 ลานไร โดยพื้นที่ที่มีการประกาศ

                เกินไปนั้น ลวนเปนพื้นที่ที่เปนที่อยูอาศัยและที่ทํากินของชาวบาน และหลายพื้นที่นั้นสถานการณไดลุกลาม
                กลายเปนความขัดแยงระหวางเจาหนาที่รัฐและชาวบาน อันนํามาสูการเกิดความรุนแรงในรูปแบบตาง ๆ

                ขึ้นตามมา
                         แมจะเปนความพยายามของกรมปาไม ในการผลักดันนโยบายปาไมเปนนโยบายของชาติ แตการยึดติด

                ในเชิงเทคนิคและวิชาการมากเกินไป โดยเฉพาะการใหความสําคัญกับตัวเลขการเพิ่มพื้นที่ปาโดยไมสนใจสาเหตุ
                แทจริงของการลดลงของพื้นที่ปาไม อาทิ การใหสัมปทานทําไมอยางกวางขวาง การสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                การสงเสริมการทําสวนปาเชิงพาณิชย และการผูกขาดการบริหารจัดการทรัพยากรโดยชุมชนไมมีสวนรวม
                รูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรปาไมของชาติตามนโยบายที่เปนอยูเชนนี้ ไดกอใหเกิดปญหาทั้งกับพื้นที่ปาไม

                และประชาชนและชุมชนเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งราษฎรทองถิ่นที่ตองพึ่งพิงปาในการดํารงชีวิต
                จึงมีความจําเปนตองทบทวนนโยบายปาไมใหสอดคลองกับความเปนจริงในปจจุบัน

                         เกี่ยวกับสิทธิในที่ดินของประชาชนและชุมชน แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
                หมวดที่ 3 สวนที่ 12 สิทธิชุมชน มาตรา 65 และ 66 และหมวด 5 วาดวยแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ สวนที่ 8

                แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 84 ลวนเปนแนวนโยบายดานปาไม ซึ่งแสดง
                ใหเห็นวา ประเทศไทยใหความสําคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการมีสวนรวมของประชาชน

                มากขึ้น และเปนสวนสงเสริมและสนับสนุนในการพัฒนานโยบายปาไมใหเปนนโยบายสาธารณะได หากแตในความ




         132     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158