Page 152 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 152

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                        8)  การประกาศปาซํ้าซอน เปนการเพิ่มเงื่อนไขความรุนแรงทางกฎหมายใชบังคับราษฎร

                        9)  ไมฟงคําคัดคานของชาวบาน เกาะลันตา ชาวบานคัดคานการประกาศปาสงวน หนังสือคาน
               คางอยูที่อําเภอไมมีการดําเนินการตอ

                        10) เจาหนาที่มีทัศนคติที่ไมดีกับราษฎรในเขตปา โดยเฉพาะการทําไรหมุนเวียนของชนเผา
                        11)  การดําเนินการแกปญหาลาชา

                        12)  การไมสํารวจพื้นที่กอนการกําหนดเขตปา ขาดการมีสวนรวมของราษฎร
                        13)  เจาหนาที่ใชอํานาจขยายแนวเขตปาตามดุลพินิจ

                        14)  เจาหนาที่แสวงหาผลประโยชนจากชาวบานในเขตปา
                        ขอมูลจากการพิจารณาคํารองเรียนการละเมิดสิทธิดังกลาวขางตนสะทอนใหเห็นวา กระบวนการ

               ตรวจสอบและคุมครองประชาชนไมใหถูกละเมิดสิทธิดานที่ดินและปาตองใชเวลานานมาก และแมกระทั่ง
               เรื่องรองเรียนที่มีรายงานการตรวจสอบออกไปแลว ก็ไมสามารถบังคับใหหนวยงานที่ถูกรองเรียนวาละเมิด

               ปรับปรุงแกไขการกระทําได ไมอาจชวยปกปองคุมครองการละเมิดสิทธิของราษฎรที่ไดรับความเดือดรอน
               ไดทันทวงที และประเด็นสําคัญคือ ความเดือดรอนที่เกิดจากการกระทําที่มีลักษณะเดียวกันซํ้าซาก เชน การประกาศ

               เขตปาของรัฐทับที่ราษฎรและชุมชน การกระทําดวยความรุนแรง เชน ขมขู คุกคาม ขับไล รื้อถอนบานเรือน
               ทรัพยสินและพืชผลอาสิน ตลอดจนการจับกุมดําเนินคดีจนถูกศาลพิพากษาลงโทษจําคุก

                        ที่เปนเชนนี้เพราะการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐยึดถือกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกาแก
               ไมทันกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคมแตเปนประโยชนแกหนวยงานของตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง

               กฎหมายปาไม 5 ฉบับ ไดแก พระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ
               พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ. 2535

               และพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ. 2535 รวมทั้งนโยบายปาไมแหงชาติ และมติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญ เชน
               มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2540 ตลอดจนนโยบายจากฝายการเมืองและการบริหารจัดการของ

               เจาหนาที่รัฐซึ่งไมสอดคลองกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมประเพณีและชีวิตความเปนอยูของราษฎรในทองถิ่น
               เชน โครงการปลูกปาขนาดใหญซึ่งมักจะถางพืชพรรณที่มีอยูเดิมตามธรรมชาติออกกอน การจํากัดรอบหมุนเวียน

               การทําไรของชนเผากะเหรี่ยง การไมยอมรับการจัดการปาใชสอยตามจารีตประเพณีของชุมชน แตไมปฏิบัติ
               ตามรัฐธรรมนูญและมติของอํานาจฝายบริหาร เชน มติ ครม. เกี่ยวกับการแกไขปญหาที่ดินของเกษตรกร

               ที่รองเรียนตอรัฐบาลในวาระและโอกาสตาง ๆ ซึ่งจะไดอธิบายในลําดับตอไป



















                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  131
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157