Page 151 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 151

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                นอกเขตปาสงวนแหงชาติหรือเปนที่หวงหามของทางราชการอื่นจากกํานันหรือผูใหญบาน ตอมา เจาของสวนยางที่

                สกย. สงเคราะหถูกเจาหนาที่ปาไมจับกุมฐานบุกรุกปาสงวนแหงชาติ สงผลให สกย. ยกเลิกการใหทุนสงเคราะห
                กับเจาของสวนยางที่ไมมีเอกสารสิทธิรวมประมาณ 1 ลานไรซึ่งอยูในเขตปาสงวนแหงชาติและเขตปาอนุรักษ

                         ชาวสวนยางจํานวนมากยืนยันใหรัฐบาลเรงดําเนินการพิสูจนสิทธิการทํากินกอนการประกาศเขตปา
                เรงดําเนินการปรับแนวเขตแผนที่ รังวัดแนวเขตปา โดยชาวสวนยางมีสวนรวมเพื่อการไดมาซึ่งที่ดินทํากิน

                โดยชอบ ป พ.ศ. 2545 กระทรวงเกษตรและสหกรณสํารวจขอมูลสรุปพื้นที่สวนยางทั้งประเทศ 13.5 ลานไร
                มีเอกสารสิทธิ 10.7 ลานไร และอยูในเขตปาสงวนแหงชาติและปาอนุรักษ 2.8 ลานไร พ.ศ. 2546 กระทรวงเกษตร

                และสหกรณเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหองคการสวนยาง (อ.ส.ย.) เปนผูเขาทําประโยชนสวนยางในพื้นที่ปาตอจาก
                กรมปาไม ป พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติโครงการแปลงสวนยางเปนทุน มีวัตถุประสงค 1. เพื่อไมยาง

                ของเกษตรกรที่อยูในเขตปาสงวนเปนทุน 2.  เพื่อแปลงไมยางของเจาของสวนยางสงเคราะหเปนทุน
                และ 3. เพื่อเพิ่มมูลคาใหกับไมยางและอุตสาหกรรมไมยาง ในขณะที่ชาวสวนยางตองการใหโคนยางเกาได

                โดยไมจําเปนตองขอกูจากกองทุนสวนยาง
                         นโยบายการประกาศปาสงวนแหงชาติ - ปาอนุรักษ และการยกเลิกการใหทุนสงเคราะหกับสวนยาง

                ติดเขตปา ทําใหชาวสวนยางจํานวนหนึ่งตองสมัครเขาโครงการแปลงสวนยางเปนทุนเพื่อตนจะไดทําประโยชน
                ภายใตเงื่อนไขขององคการสวนยาง ทําใหชาวสวนยางเสียประโยชนในเรื่องพื้นที่ทํากิน - ไดรับการจัดสรร

                นอยกวาที่เคยครอบครองทําประโยชน เรื่องระยะเวลา และเรื่องการถูกหักราคาขายนํ้ายาง ชาวสวนยาง
                เรียกรองใหรัฐเรงพิสูจนสิทธิการทํากินในเขตปาเพื่อเกษตรกรจะไดมีสิทธิทํากินในที่ดินโดยชอบ

                         กระบวนการละเมิดสิทธิ สวนใหญเริ่มจากการใชอํานาจตามกฎหมายประกาศเขตปาทับที่อยูอาศัยทํากิน
                ของราษฎรและชุมชน การหามกระทําการใด ๆ ในเขตปา รวมทั้ง ไมยอมอนุญาตใหหนวยงานพัฒนาของรัฐเขาไป

                สรางสาธารณูปโภคและสงเสริมการเกษตร เชน การสงเคราะหสวนยาง และมีการจับกุมลงโทษหากมีการฝาฝน
                ตลอดจนการกดดันใหออกจากพื้นที่โดยใชความรุนแรง ทําลายทรัพยสิน ทําลายพืชผลอาสินของราษฎรใหเสียหาย

                จนอยูไมไดและตองอพยพออกไป หรือหากไมยอมอพยพออกก็จะจับกุมฟองรองดําเนินคดีจนถูกพิพากษาจําคุก
                         เหตุปจจัยปญหาการละเมิดสิทธิ

                         จากกรณีศึกษาพบวาเหตุปจจัยที่ทําใหเกิดปญหาการละเมิดสิทธิมีหลายประการ อาทิเชน
                         1)  นิยามปาและการกําหนดพื้นที่ปา

                         2)  การใหอํานาจเจาหนาที่ใชดุลพินิจเกินขอบเขต
                         3)  การหามใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ปา

                         4)  ขอบเขตและการยอมรับสิทธิชุมชน
                         5)  รัฐมีนโยบายแสวงหาผลประโยชนในดานอื่น เชนการพัฒนาอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว

                         6)  นโยบายปาไมแหงชาติ
                         7)  นโยบายเพื่อความมั่นคง แนวชายแดนมักอพยพชาวบานออก สมัยตอสูกับ ผกค.







         130     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156