Page 150 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 150

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               แผวถาง ทําใหเสื่อมเสียแกสภาพปาสงวนแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปาแหงชาติเกินเนื้อที่ 25 ไร โดยไมไดรับ

               อนุญาต ทั้งที่บริเวณติดกันที่หมู 10 แกงหางแมว อยูในเขตรักษาพันธุสัตวปาเชนกัน ไดมีการบุกเบิกที่ดินใหม
               รวมจํานวนกวา 400 ไร เริ่มมีการปลูกยางเมื่อป 2551 ใชรถไถ แมคโคร เขาบุกเบิกพื้นที่อยางเปดเผย

               แตกลับไมอยูในขายบุกรุก ปจจุบันมีชาวบานที่ยอมยายออกไปเองจํานวน 13 ราย ที่ศาลมีคําพิพากษาแลวปจจุบัน
               อยูในระหวางบังคับคดี 17 ราย รอศาลมีคําพิพากษา 15 ราย ชาวบานตองการใหไดอยูอาศัยทํากินในที่เดิม

               และ อบต.ก็เคยมีมติไมใหกองทัพเรือขยายเขตพื้นที่
                        หรือกรณีการจับกุมชาวบานเขามาใชประโยชนในปา โดยเฉพาะในจังหวัดที่มีการประกาศเขตปา

               แทบทั้งจังหวัดเชนในจังหวัดนานและจังหวัดแมฮองสอน กรณีการรองเรียนของนางหนอดา ถูกจับดําเนินคดี
               และถูกจําคุกขอหาถางปาทําไรหมุนเวียนที่ ตําบลแมลานอย ปาแมยวมฝงซาย จังหวัดแมฮองสอน ก็เปนตัวอยาง

               ของการเลือกปฏิบัติและกระทํารุนแรงตอราษฎรที่ใชที่ดินทําไรขาวตามประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมที่ทํากันมา
               แตรุนปูยาตายาย นอกจากนี้ ยังมีการทําลายทรัพยสินเชนสวนผลไม สวนยาง การกลบสระหนองนํ้า เชน

               ที่ตําบลลํานางรอง ตําบลโนนดินแดง และตําบลสมปอย
                        การหามทําประโยชนในที่ดินที่เปนการจํากัดการทํามาหากิน มีลักษณะการกระทําที่ดูเหมือนไมรุนแรง

               แตความเปนจริงเปนการหามหรือไมใหชาวบานซึ่งเปนเกษตรกรไดทําประโยชนในที่ดินที่เปนขอพิพาท
               เชน หามโคนยางพาราอายุมากใหนํ้ายางนอยไมคุมคาเพื่อปลูกใหม หรือตัดฟนทําลายยางพาราที่ชาวบาน

               ปลูกไวแลว เชน ในกรณีชุมชนเทือกเขาบรรทัดจังหวัดตรัง
                        การนําโครงการของรัฐเขามาดําเนินการในที่ดินที่ราษฎรและชุมชนอยูอาศัยใชประโยชนทํากิน

               กรณีนี้เกิดทั้งในบริเวณที่ดินที่ชาวบานใชประโยชนสวนบุคคลและที่ดินที่ชุมชนใชประโยชนรวมกัน เชน กรณี
               สวนปาคอนสาร สวนปาโคกยาว สวนปาขุนหาน สวนปาหวยจันทร ซึ่งนําที่ดินทํากินและปาใชสอยของชุมชน

               มาทําการปลูกสรางสวนปา หรือกรณีโครงการปลูกปาเฉลิมพระเกียรติ โครงการสถานีพัฒนาเกษตร ที่นําที่ดิน
               ของชุมชนมาทําโครงการโดยไมไดคํานึงถึงการใชที่ดินของชุมชนที่มีอยูเดิม ชวงที่มีกระแสสิ่งแวดลอมและประเด็น

               โลกรอนจะมีโครงการปลูกปาเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งละเมิดสิทธิของชุมชน
                        การจํากัดการพัฒนา หนวยงานของรัฐที่ดูแลพื้นที่ปาไมอนุญาตใหมีการกอสรางสิ่งสาธารณูปโภค

               พื้นฐาน เชน ถนน แหลงนํ้า ไฟฟา ประปา หรือนําเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนกับการทํามาหากินเขาไปในพื้นที่
               เชน หามนํารถไถนาเขาไปในพื้นที่

                        การหามสนับสนุนการสงเคราะหสวนยาง กรณีบานควนใตตําบลหวยนํ้าขาวจังหวัดกระบี่ รัฐไดประกาศ
               พื้นที่ซึ่งชาวบานอาศัยอยูมานานนับรอยปเปนพื้นที่ปาโดยหามอยูอาศัยและยังหามตัดโคนไมยางพาราที่หมดอายุ

               เพื่อขอเงินสงเคราะหปลูกทดแทนในแปลงที่ติดอยูในเขตพื้นที่ปา

                        กรณีสิทธิในที่ดินและทรัพยสิน กรณีนโยบายหามตัดโคนยางพาราหมดอายุในเขตปา

                        คํารอง 5 ชุด จากชาวสวนยางพาราในเขตจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา และจังหวัดพัทลุง
               ครอบครองทําประโยชน ปลูกยางพารา ตอเนื่องกวา 10 ป สามารถโคนตัดยางแกและขอปลูกทดแทนจาก

               กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง (สกย.) โดยแสดงหลักฐานใบเสียภาษีบํารุงทองที่และเอกสารรับรองพื้นที่



                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  129
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155