Page 149 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 149

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                ชาวกะเหรี่ยง จํานวน 98 หลัง ยึดทรัพยสินชาวกะเหรี่ยง อาทิ เคียว ขวานเงิน สรอยลูกปด กําไลขอมือ

                บริเวณพุระกํา (ใจแผนดิน) และบางกลอยบน ครั้งที่ 5 วันที่ 23 - 26 มิถุนายน พ.ศ. 2554 เผาและทําลายบาน
                ยุงขาวชาวกะเหรี่ยง 21 หลัง ใน 14 จุด ยึดทรัพยสิน อาทิ มีด แห เคียว เกลือ ดนตรีชาวกะเหรี่ยง (เตหนา)

                ครั้งที่ 6 วันที่ 11 - 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ปฏิบัติการของทหารนํามาสูเฮลิคอปเตอรตก จํานวน 1 ลํา
                ในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 และอีก 2 ลํา ตกตามมา ทําใหสูญเสียเจาหนาที่และนักขาว รวม 17 คน

                ปจจุบัน พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ชาวบาน 20 ครอบครัว ประมาณ 100 คน ไดเดินเทาเขามาอยูกับญาติพี่นอง
                ที่บานโปงลึก และบางกลอยลาง ตําบลหวยแมเพรียง อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี จึงรองเรียนตอ

                กสม. วาเจาหนาที่อุทยานฯ รวมกับเจาหนาที่ทหารเขาทําลาย เผาที่พัก และผลักดันชาวกะเหรี่ยงออกนอก
                พื้นที่อยูอาศัยและที่ทํากิน

                         หรือกรณีหนวยงานรัฐซึ่งไดรับแตงตั้งเปนพนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายปาไม และขออนุญาตใชพื้นที่
                ปาแตมีชาวบานอาศัยทํากินอยูกอนแลวจึงฟองชาวบานขอหาบุกรุกปา ดังกรณีจันทเขลม


                         คํารองที่ 666/2553 เรื่อง สิทธิในการจัดการที่ดิน กรณีกองทัพเรือขับไลราษฎรออกจากที่ดิน
                ในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาว ผูรองคือนายวิทย สําเภา กับพวก ผูถูกรอง ไดแก กองทัพเรือ

                         ผูรองกับพวกรวม 45 ครอบครัวอยูอาศัยและทํากินอยูหมูที่ 7 ซอย 9 บานคลองชัน ตําบลจันทเขลม
                อําเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรีซึ่งอยูใกลนํ้าตกในเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาสอยดาวและเขตปาสงวน

                จันตาแปะ - เขาวังแจง เปนบางสวน มาตั้งแตป 2514 ซึ่งกองทัพเรือไดรับอนุญาตจากกรมปาไมใชพื้นที่ใกลเคียง
                เนื้อที่ 13,650 ไร เปนสถานที่ซอมอาวุธของทหาร และไดสํารวจราษฎรที่อยูในพื้นที่มากอนทั้งหมด พบวา

                มีราษฎรที่อาศัยทํากินอยูในพื้นที่ จํานวน 181 ครอบครัว และตั้งแตป 2530 ไดจัดสรรที่ทํากินใหกับราษฎร
                ที่ไดทํากินอยูในพื้นที่มากอน จํานวน 181 ครอบครัว ๆ ละ 15 ไร รวม 2,715 ไร ทางดานทิศใตของสนามฝก

                แตกองทัพเรือมีปญหาแผนที่แนบทายหนังสืออนุญาตไมตรงกับพื้นที่กองทัพเรือใชจริงจึงขอปรับแผนที่
                แตยังไมไดรับการพิจารณาจากกรมปาไม แตมีชาวบานจํานวนหนึ่งซึ่งอางวาอยูมาตั้งแตป 2512 ไมไดรับ

                การจัดสรรที่ดิน ตอมากองทัพเรือแจงความจําเปนตองใชพื้นที่ฝกและซอมยิงปน จึงใหชาวบานออกชาวบาน
                ไมออกอางไดรับยกเวนใหอยูตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ซึ่งปจจุบันกรมปาไมไดออกสํารวจ

                และกั้นแนวเขตตามมติคณะรัฐมนตรีฯ และแตละแปลงไดมีรหัสพิกัดบางสวนแลว จึงฟองคดีกับชาวบานขอหา
                เขายึดถือครอบครองเขตรักษาพันธุสัตวปาโดยไมไดรับอนุญาต ป 2549 เจาหนาที่กองทัพเรือและเจาหนาที่ปาไม

                แจงความตํารวจ ใหดําเนินคดีกับราษฎรที่บุกรุกที่ดินที่กองทัพเรือไดรับอนุญาต โดยเขาไปทําการปลูกสราง
                สิ่งปลูกสรางและปลูกไมยืนตน รวมจํานวน 45 ครัวเรือน โดยไดติดปายประกาศเปนเขตทหารและออกหมาย

                เรียกชาวบานกวา 50 ราย
                         ชาวบานขอใหมีการสํารวจพื้นที่ตามแผนที่ และพบวาพื้นที่ที่ทหารใชอยูปจจุบันไดรุกลํ้าขามเขตที่ไดรับ

                อนุญาตไปประมาณ 2,000 ไร โดยยังไมรวมพื้นที่ที่ฟองคดีชาวบานบริเวณซอย 9 ตําบลจันทเขลม อีกจํานวน
                714 ไร ทําใหเจาหนาที่ทหารไมสามารถเอาผิดและยึดพื้นที่ของชาวบานไดทําใหชาวบานในบริเวณดังกลาว

                พนจากขอกลาวหา ตอมาเจาหนาที่กองทัพเรือฟองชาวบานเปนครั้งที่ 2 ขอหายึดถือ ครอบครอง กอสราง



         128     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154