Page 148 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 148

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                        9.  การจํากัดการพัฒนา ไมอนุญาตใหกอสรางสิ่งสาธารณูปโภคพื้นฐาน เชนถนน แหลงนํ้า ไฟฟา

               ประปา หรือนําเครื่องมืออุปกรณที่จําเปนกับการทํามาหากิน เชน รถไถนา เขาไปในพื้นที่ ตลอดจนการไมยอมรับ
               ใหเสียภาษีบํารุงทองที่ หรือไมออกทะเบียนบานให

                        10.  การเลือกปฏิบัติกับราษฎรที่ยากจน เชน ประกาศปาสงวนครอบชุมชนทั้งอําเภอ แตเลือกจับ
               ชาวบานบางคน

                        การประกาศเขตปาทับที่อยูอาศัยทํากินของราษฎรและชุมชนแลวไมเพิกถอนเขตปา ทําใหราษฎร
               ออกเอกสารสิทธิ์ไมได เชน กรณีอุทยานฯ ใตรมเย็น กรณีเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดงจังหวัดเพชรบูรณ

               ชุมชนเกาะชางจังหวัดตราดประกาศเขตปาอนุรักษโดยไมรับฟงความเห็นและเสียงคัดคานของชาวบานที่อยูมากอน
               หรือที่ตําบลหวยหวายจังหวัดเพชรบูรณ มีการอพยพราษฎรออกจากพื้นที่ทํากินเพื่อนําไปทําโครงการหมูบานปาไม

               แผนใหมโดยชาวบานไมไดรับรูแผนการดําเนินงานของโครงการมากอน
                        ในประเด็นการจับกุมฟองรองดําเนินคดีและสั่งใหราษฎรออกจากเขตปา สวนใหญเกิดขึ้นกับราษฎร

               ที่อยูอาศัยทํากินในเขตปา มักอยูอาศัยอยูรวมกันเปนชุมชนเล็กบางใหญบาง แตสวนใหญอยูมานานกอนการประกาศ
               เขตปา และมีการเสียภาษีที่ดินใหกับหนวยงานทองถิ่น และก็มีทั้งมีและไมมีเอกสารราชการรับรองสิทธิ

               การครอบครองและใชประโยชนที่ดิน ตัวอยางเชน ชุมชนในเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยผาผึ้งจังหวัดชัยภูมิ
               เขตรักษาพันธุสัตวปาอุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร

                        การกระทําการรุนแรงตอราษฎร เชน ขมขู คุกคาม เผาทําลายบานเรือนยุงฉาง และทรัพยสิน
               ของราษฎร มักเกิดจากความขัดแยงในเชิงความคิดความเชื่อ เชน กรณีชุมชนกะเหรี่ยงในเขตอุทยานแหงชาติ

               แกงกระจานที่ถูกไลรื้อเผาบานและยุงฉางที่อยูในพื้นที่ไรหมุนเวียนเพราะเจาหนาที่ไมยอมรับระบบไรหมุนเวียน
               และเห็นวาการถางไรซากเพื่อทําไรขาวและการลาสัตวเล็กเปนอาหารยังชีพเปนการทําลายปาและสัตวปา

               แตดวยความที่กะเหรี่ยงอยูกันเปนชุมชนมานานนับรอยปจึงไมอาจหักลางอางสิทธิของรัฐเหนือสิทธิของชุมชน
               กะเหรี่ยงไดจึงมักกระทําดวยวิธีการอื่นที่รุนแรงดังที่ไดเผาบานและยุงฉาง รวมทั้งการทําลายทรัพยสินและ

               เครื่องมือการทํามาหากินเพื่อบีบใหชาวบานอยูไมไดและตองอพยพออกไปจากพื้นที่เองในที่สุด

                        กรณีขับไลกะเหรี่ยงออกจากบริเวณอุทยานแหงชาติแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี

                        คํารองที่ 416/2554 วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2554
                        ชุมชนชาวกะเหรี่ยงพื้นเมืองอาศัยอยูในเขตปาแกงกระจานมานานกอนถูกประกาศเปนอุทยานแหงชาติ

               ชาวกะเหรี่ยงไดรับเหรียญชาวเขา ในป พ.ศ. 2512 - 2513 มีทะเบียนราษฎรชาวเขา (ทร.ชข.) ตั้งแตเดือนเมษายน
               พ.ศ. 2531 ถูกเจาหนาที่ขับไล ผลักดัน และจับกุมชาวกะเหรี่ยงเหลานี้อยางตอเนื่อง ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2539 บังคับให

               ชาวกะเหรี่ยงออกจากบานบางกลอยบน และบานพุระกํา (ใจแผนดิน) จํานวน 57 ครอบครัว 391 คน มาอยูที่บาน
               บางกลอยลาง หมูที่ 1 และบานโปงลึก หมูที่ 2 ตําบลหวยแมเพรียง อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ครั้งที่ 2

               วันที่ 25 - 28 เมษายน พ.ศ. 2553 ผลักดันและขับไลชาวกะเหรี่ยงที่บริเวณใจแผนดิน - พรุระกําและบางกลอยบน
               อีก 12 จุด ครั้งที่ 3 วันที่ 12 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2553 และวันที่ 19 - 23 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ดําเนินการเผาบาน

               ยุงขาว และสิ่งปลูกสรางของชาวกะเหรี่ยง ครั้งที่ 4 วันที่ 5 - 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 เผาและทําลายบาน ยุงขาว



                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  127
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153