Page 82 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 82

ความผิดตองไดรับโทษทางอาญา ประกอบกับการกระทําของเจาหนาที่ตํารวจในวันที่ 7 ตุลาคม 2551 มีวัตถุประสงค

               เพื่อมุงคุมครองใหสมาชิกรัฐสภาเขาไปประชุมในรัฐสภา และคณะรัฐมนตรีสามารถเขาไปแถลงนโยบายตอรัฐสภาได
               จึงเห็นวาไมมีเจตนาที่จะใชอํานาจของตน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาแตอยางใด การกระทํา

               ของเจาหนาที่ตํารวจจึงเปนการกระทําทางปกครองซึ่งอยูในอํานาจของศาลปกครองที่จะรับไวพิจารณาพิพากษาได

               ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (1) แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
               สวนการที่ผูเขารวมชุมนุมบริเวณหนารัฐสภาปดลอมประตูเพื่อมิใหสมาชิกรัฐสภาเขาออกบริเวณรัฐสภา และใชรั้ว

               ลวดหนาม ยางรถยนตราดนํ้ามันขวางกั้นถนนไว เปนการกระทําที่มีลักษณะทําใหผูอื่นกลัววาจะเกิดอันตรายตอชีวิต
               รางกาย เสรีภาพจนไมกลาที่จะเขาไปในรัฐสภา หรือออกจากรัฐสภาอันเปนการกระทบตอสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น

               จึงมิใชการชุมนุมโดยสงบอันจะไดรับความคุมครองตามมาตรา 63 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

               พุทธศักราช 2550 เจาหนาที่ตํารวจจึงมีอํานาจหนาที่ที่จะสลายการชุมนุม เพื่อแกปญหาการกระทําของ
               ผูเขารวมชุมนุมได อยางไรก็ดี การสลายการชุมนุมจะตองกระทําเทาที่จําเปน โดยคํานึงถึงความเหมาะสม มีลําดับ

               ขั้นตอนตามหลักสากลที่ใชในการสลายการชุมนุมของประชาชน เจาหนาที่ตํารวจจึงไมอาจใชอํานาจตามอําเภอใจได

               จึงมีคําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการคุมครองชั่วคราวใหผูฟองคดีทั้งหก โดยมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ 3 (สํานักงาน
               ตํารวจแหงชาติ) หากจะกระทําการใด ๆ ตอผูเขารวมชุมนุมตองดําเนินการเทาที่จําเปน โดยคํานึงถึงความเหมาะสม

               มีลําดับขั้นตอนตามหลักสากลที่ใชในการสลายการชุมนุม ใหผูถูกฟองคดีที่ 2 (ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ) ปฏิบัติ

               หนาที่ตามคําสั่งศาล ใหผูถูกฟองคดีที่ 1 (นายกรัฐมนตรี) ดําเนินการใหผูถูกฟองคดีที่ 3 ปฏิบัติตามคําสั่งศาลจนกวา
               จะมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเปนอยางอื่น

                                (3)  การคุมครองสิทธิและเสรีภาพโดยศาลรัฐธรรมนูญ
                                    หลักความเปนกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญยอมไดรับความคุมครองโดยองคกรศาล

               รัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนองคกรหลักในการควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย (die verfassungsgerictliche

                                 119
               Normenkontrolle) โดยบทบาทของศาลรัฐธรรมนูญในสวนนี้ ยอมหมายความรวมถึงการควบคุมความชอบ
               ดวยบทบัญญัติแหงสิทธิและเสรีภาพที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญดวยเชนกัน ดังนั้น ศาลรัฐธรรมนูญจึงเปนองคกรสําคัญ

               องคกรหนึ่งซึ่งมีอํานาจในการใชและการตีความรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ ตามรัฐธรรมนูญ
               แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหศาลรัฐธรรมนูญเปนองคกรในการทําหนาที่ควบคุมความชอบ

               ดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

                                    สําหรับอํานาจหนาที่ของศาลรัฐธรรมนูญในการควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญ
               ของกฎหมาย ซึ่งเปนชองทางใหเกิดการฟองคดีตอศาลรัฐธรรมนูญและนําไปสูการใชและการตีความรัฐธรรมนูญ

               ในสวนที่เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อาจแยกพิจารณาออกเปนการควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญ

               ของกฎหมายกอนมีผลใชบังคับ และการควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหลังการประกาศใช
               ซึ่งมีรายละเอียดตอไปนี้







               119  บรรเจิด สิงคะเนติ, ความรูทั่วไปเกี่ยวกับศาลรัฐธรรมนูญ, (กรุงเทพฯ : วิญูชน, 2544), น. 28 - 32.


                                                                                                               63
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87