Page 85 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 85

ใหศาลดําเนินการพิจารณาตอไปไดแตใหรอการพิจารณาพิพากษาคดีไวชั่วคราว จนกวาจะมีคําวินิจฉัยของศาล

              รัฐธรรมนูญ
                                                    ในกรณีที่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นวาคําโตแยงของคูความตามวรรคหนึ่งไมเปน

              สาระอันควรไดรับการวินิจฉัย ศาลรัฐธรรมนูญจะไมรับเรื่องดังกลาวไวพิจารณาก็ได

                                        คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหใชไดในคดีทั้งปวง แตไมกระทบกระเทือนถึง
              คําพิพากษาของศาลอันถึงที่สุดแลว”

                                        ข)  กรณีมาตรา 212
                                        กรณีดังกลาวเปนการรองทุกขตามรัฐธรรมนูญเพื่อโตแยงบทบัญญัติแหง

              กฎหมาย โดยมาตรา 212 บัญญัติวา “บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไวมีสิทธิยื่นคํารอง

              ตอศาลรัฐธรรมนูญเพื่อมีคําวินิจฉัยวาบทบัญญัติแหงกฎหมายขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ
                                        การใชสิทธิตามวรรคหนึ่งตองเปนกรณีที่ไมอาจใชสิทธิโดยวิธีการอื่นไดแลว

              ทั้งนี้ ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ”

                                        ตามมาตรา 212 เปนการนําระบบรองทุกขตอศาลรัฐธรรมนูญเขามาในระบบ
              กฎหมายไทย แตเปนการรองทุกขเพื่อการตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย โดยมีเงื่อนไขวา

              ตองเปนกรณีที่ไมอาจใชสิทธิโดยวิธีการอื่นไดแลว

                               (4)  องคกรเฉพาะดานการคุมครองสิทธิ
                                   (4.1)   ผูตรวจการแผนดิน

                                      รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บัญญัติใหผูตรวจการแผนดิน
              เปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ มีหนาที่หลักในการใหความคุมครอง

              แกสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่ไดรับความเดือดรอนจากการใชอํานาจของเจาหนาที่ของรัฐโดยมิชอบ

                                      ขอพิจารณาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ในการใหความคุมครองแกสิทธิและเสรีภาพของ
              บุคคลประการสําคัญตามที่บัญญัติไวในมาตรา 245 บัญญัติวา “ผูตรวจการแผนดินอาจเสนอเรื่องตอศาล

              รัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองไดเมื่อเห็นวามีกรณี ดังตอไปนี้
                                      ก.  บทบัญญัติแหงกฎหมายใดมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ

              ใหเสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้

              ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
                                      ข.  กฎ คําสั่ง ขอบังคับ หรือการกระทําใดของบุคคลใดตามมาตรา 244 (1)

              มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ใหเสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครองและให

              ศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
                                   (4.2)   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                                      คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญอีกองคกรหนึ่ง

              ถูกจัดตั้งขึ้นตามมาตรา 199 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 โดยทําหนาที่สงเสริมและ
              คุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย อยางไรก็ดี คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไมมี



          66
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90