Page 83 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 83

(1.1)   การตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายกอนมีผลใชบังคับ

              ซึ่งเปนไปตามมาตรา 141 และมาตรา 254
                                      ก. กรณีตามมาตรา 141

                                          มาตรา 141 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

              บัญญัติวา “เมื่อรัฐสภาใหความเห็นชอบกับรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญแลว กอนนําขึ้นทูลเกลา
              ทูลกระหมอมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย  ใหสงศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาความชอบดวยรัฐธรรมนูญ

              ซึ่งตองกระทําใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับเรื่อง
                                          คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่วินิจฉัยวารางพระราชบัญญัติประกอบ

              รัฐธรรมนูญใดมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญ  ใหขอความที่ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป

              ในกรณีที่วินิจฉัยวาขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญหรือรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นตราขึ้น
              โดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ ใหรางพระราชบัญญัติรัฐธรรมนูญนั้นเปนอันตกไป

                                          ในกรณีที่คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญมีผลทําใหขอความที่ขัดหรือแยง

              ตอรัฐธรรมนูญเปนอันตกไปตามวรรคสอง  ใหสงรางพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นกลับคืน
              สภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภาเพื่อพิจารณาตามลําดับ ในกรณีเชนวานี้ ใหสภาผูแทนราษฎรหรือวุฒิสภา

              พิจารณาแกไขเพิ่มเติมเพื่อมิใหขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญได โดยมติในการแกไขเพิ่มเติมใหใชคะแนนเสียงมากกวา

              กึ่งหนึ่งของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของแตละสภา แลวใหนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา 90
              และมาตรา 150 หรือมาตรา 151 แลวแตกรณี ตอไป”

                                      ข.  กรณีมาตรา 154
                                          บทบัญญัติมาตรา 154 ของรัฐธรรมนูญไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการ

              ตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของรางกฎหมายไว ดังนี้ 120







              120    มาตรา 154  รางพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาใหความเห็นชอบแลว  กอนที่นายกรัฐมนตรีจะนําขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อ
                 พระมหากษัตริยทรงลงพระปรมาภิไธยตามมาตรา 150 หรือรางพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา 151 กอนที่นายกรัฐมนตรีจะนํา
                 รางพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายอีกครั้งหนึ่ง
                    (1) หากสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกันมีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่
                 มีอยูของทั้งสองสภา เห็นวา รางพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
                 ใหเสนอความเห็นตอประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภาหรือประธานรัฐสภา แลวแตกรณี แลวใหประธานแหงสภาที่ไดรับความเห็นดังกลาว
                 สงความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจงใหนายกรัฐมนตรีทราบโดยไมชักชา
                    (2) หากนายกรัฐมนตรีเห็นวารางพระราชบัญญัติดังกลาวมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
                 ใหสงความเห็นเชนวานั้นไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจงใหประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบโดยไมชักชาในระหวางที่
                 ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ใหนายกรัฐมนตรีระงับการดําเนินการเพื่อประกาศใชรางพระราชบัญญัติดังกลาวไวจนกวาศาลรัฐธรรมนูญจะมี
                 คําวินิจฉัย
                    ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัตินั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
                 และขอความดังกลาวเปนสาระสําคัญใหรางพระราชบัญญัตินั้นเปนอันตกไป
                    ถาศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวารางพระราชบัญญัตินั้นมีขอความขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญนี้แตมิใชกรณีตามวรรคสาม ใหขอความที่ขัดหรือแยงนั้น
                 เปนอันตกไป และใหนายกรัฐมนตรีดําเนินการตามมาตรา 150 หรือมาตรา 151 แลวแตกรณี ตอไป




          64
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88