Page 77 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 77

(1)  สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายของประชาชน สํานักงานอัยการ

              สูงสุด
                                  สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายของประชาชน (สคช.) เปนหนวยงาน

              ซึ่งจัดตั้งขึ้นในกรมอัยการ (ปจจุบันคือสํานักงานอัยการสูงสุด) ในป พ.ศ. 2525 โดยมีเจตนารมณเพื่อทําหนาที่

              ชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชนผูยากไรทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งการชวยเหลือทาง
              กฎหมายแกประชาชน ประกอบดวย พนักงานอัยการ นิติกร และทนายความอาสาที่มีความรูความชํานาญในทาง

              กฎหมายอยางสูง ที่สามารถใหความชวยเหลือแกประชาชน โดยไมคิดคาบริการหรือคาใชจายใด ๆ ทั้งสิ้น ตาม
              พระราชกฤษฎีกาแบงสวนราชการสํานักงานอัยการสูงสุด พ.ศ. 2540 กําหนดให สคช. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

                                  (1.1)  รับผิดชอบดําเนินการเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน การคุมครองสิทธิเสรีภาพ

              และผลประโยชนของประชาชน การใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน การเผยแพรความรูทางดาน
              สิทธิมนุษยชนและความรูทางกฎหมายแกประชาชน

                                  (1.2)  ศึกษา วิจัย และพัฒนาระบบ รูปแบบ วิธีการ และแนวทางปฏิบัติในการ

              ดําเนินการดังกลาว
                                  (1.3) ปฏิบัติงานรวมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของหรือ

              ที่ไดรับมอบหมาย

                                  การปฏิบัติหนาที่คุมครองสิทธิและเสรีภาพของ สคช. ที่สําคัญ เชน กรณีการริเริ่มแกไข
              ปรับปรุงกฎหมายอาญามาตรา 18 หามใชโทษประหารชีวิต และจําคุกตลอดชีวิตสําหรับบุคคลอายุตํ่ากวา 18 ป

              หรือกรณีการยกรางระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานดานการบังคับใชกฎหมายวาดวย
              สิ่งแวดลอม พ.ศ. .... สงไปยังกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงวิทยาศาสตรเพื่อนําเขาสูการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี

              นอกจากนี้ สคช. ยังไดรับความไววางใจจากสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี โดยทําหนาที่ตรวจสอบขอเท็จจริง

              และเสนอขอมูลหรือขอคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ จากสํานักราชเลขาธิการ กรณีราษฎรทูลเกลาฯ ถวายฎีกาเพื่อขอ
              พระมหากรุณาเปนที่พึ่ง จากนั้นจะสรุปผลการตรวจสอบและเสนอความเห็นไปยังราชเลขาธิการ เพื่อจะไดนํา

              ความกราบบังคมทูลพระกรุณาฯ ตอไป ฯลฯ จึงกลาวไดวา สคช. เปนหนวยงานของรัฐที่มีบทบาทในการให
              ความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปนอยางมากในปจจุบัน

                                 (2)  กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม

                                  กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ไดจัดตั้งขึ้นเมื่อมีการแยกศาล
              ยุติธรรมออกจากกระทรวงยุติธรรม ซึ่งเปนผลของการประกาศใชรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

              2540 ที่กําหนดใหศาลยุติธรรมแยกออกตางหากจากกระทรวงยุติธรรม และกําหนดใหมีกรมคุมครองสิทธิและ

              เสรีภาพขึ้นในกระทรวงยุติธรรม โดยแนวคิดในการจัดตั้งกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพนี้ไดรับอิทธิพลมาจากการ
              จัดตั้งสํานักงานสิทธิพลเมือง (Civil Rights Division) ของกระทรวงยุติธรรมในประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปน

              ประเทศที่มีพลเมืองหลากหลายเชื้อชาติจนนํามาสูปญหาการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนโดยเจาหนาที่

              ของรัฐและโดยประชาชนดวยกันเอง และนับวาเปนการดําเนินการที่สอดคลองกับนโยบายของสหประชาชาติ
              ที่เรงรัดใหรัฐสมาชิกจัดตั้งกลไกระดับชาติเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงอีกดวย



          58
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82