Page 86 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 86

อํานาจวินิจฉัยสั่งการไดดวยตนเอง เพียงแตมีการดําเนินการสงเรื่องเพื่อรายงานตอรัฐสภาใหรับทราบเพื่อดําเนินการ

               ตอไป จึงทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการคุมครองสิทธิมนุษยชนขององคกรดังกลาววามีอยูมากนอย
               เพียงใด ดวยเหตุนี้ จึงเปนที่มาของแกไขรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับป พุทธศักราช 2550 โดยการ

               กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจที่สําคัญในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน

               โดยเชื่อมโยงกับอํานาจของศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญ ดังที่บัญญัติไวในมาตรา 257 (2) กลาวคือ ใหมีอํานาจ
               เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา บทบัญญัติแหงกฎหมายใด

               กระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติประกอบ
               รัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ หรือตาม (3) เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณี

               ที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและ

               มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ
               วิธีพิจารณาคดีปกครอง โดยกลไกเหลานี้จะสงผลใหการดําเนินการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

               เปนไปอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น



               2.3  บทสรุปวิเคราะหเปรียบเทียบเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชน

               ในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันในประเทศตาง ๆ

                      เมื่อไดพิจารณากฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชนของประเทศตาง ๆ ดังกลาวขางตนแลว
               จะเห็นไดถึงลักษณะรวมกันในหลายประการ ดังนี้

                      ประการที่หนึ่ง ประเทศตาง ๆ ดังกลาวไดตรากฎหมายเพื่อการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนเปนการ
               เฉพาะตามมาตรฐานที่กําหนดไวในหลักการปารีส ยกเวนสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งไมมีองคกรคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะแตจะใชระบบการตรวจสอบโดยศาล

                      ประการที่สอง ประเทศตาง ๆ ดังกลาวไดจัดตั้งองคกรเฉพาะที่มีอํานาจหนาที่โดยตรงในการสงเสริมและ
               คุมครองสิทธิมนุษยชน โดยองคกรดังกลาวมี “ความเปนอิสระ” อยางเต็มที่ในการปฏิบัติหนาที่ ภายใตหลักการ

               ปารีสที่กําหนดวาการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน สถาบันฯ ควรจะตองไดรับอํานาจในการสอบสวน
               คํารองเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มีการบัญญัติรับรองไวอยางชัดเจนตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย

               โดยมีอํานาจเรียกเจาหนาที่ของรัฐและบุคคลมาชี้แจงขอเท็จจริง โดยในการรับและสอบสวนเรื่องราวรองทุกขจาก

               บุคคลหรือกลุมบุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน หลักการปารีสกําหนดใหสถาบันฯ ตองยึดหลักการแสวงหาขอยุติ
               ฉันมิตรภาพผานการเจรจาไกลเกลี่ย ตองมีการแจงใหผูรองเรียนทราบถึงสิทธิของตนที่มี ตลอดจนวิธีการที่จะแกไข

               เยียวยาและสงเสริมใหผูรองเรียนเขาถึงกลไกเหลานี้ได รวมทั้งการพิจารณาไตสวนคํารองเรียนหรือสงเรื่องตอไป

               ใหหนวยงานหรือองคกรที่มีอํานาจพิจารณา ซึ่งมาตรการดังกลาวเปนมาตรการที่ทําใหการคุมครองและสงเสริม
               การละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยองคกรมีประสิทธิภาพมากที่สุด

                      จากอํานาจหนาที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามหลักการปารีสดังกลาว จะเห็นไดวาหลักการ

               ปารีสในฐานะที่เปนมาตรฐานสากลระหวางประเทศเกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยสถาบัน
               สิทธิมนุษยชนแหงชาติ ไดกําหนดใหอํานาจแกสถาบันฯ ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ



                                                                                                               67
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91