Page 87 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 87
ระหวางเอกชนดวยกันเองได โดยใหมีอํานาจรับเรื่องรองเรียนจากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
แตสิทธิมนุษยชนที่ถูกละเมิดนั้นตองเปนสิทธิมนุษยชนที่มีการบัญญัติรับรองไวอยางชัดเจนตามรัฐธรรมนูญหรือ
กฎหมาย
แตอยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาอํานาจในสวนนี้ขององคกรแลว จะทําใหเห็นถึงธรรมชาติของการเปน
องคกรกึ่งตุลาการ ซึ่งมีอํานาจไกลเกลี่ยชี้ขาดใหเกิดขอยุติปญหาในระดับหนึ่ง แตก็มิใชมีอํานาจตุลาการที่จะตัดสิน
ปญหาและบังคับการลงโทษไดเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในตัวเอง หากแตเปนเพียงองคกรใหคําปรึกษา คําแนะนํา หรือ
ขอเสนอแนะแกฝายนิติบัญญัติและฝายบริหารเกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งอํานาจสวนนี้
ของสถาบันฯ โดยทั่วไปมักจํากัดขอบอํานาจไวในระดับหนึ่งเพื่อมิใหเกิดการซอนทับอํานาจขององคกรที่อาจ
เกิดขึ้นได โดยเฉพาะอํานาจของฝายตุลาการโดยตรง 121
ประการที่สาม การคุมครองสิทธิมนุษยชน นํามาซึ่ง “หนาที่” หรือ “ความผูกพัน” ตอบุคคลทั้งหลาย
ที่จะตองเคารพสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น ไมวาจะเปนองคกรของรัฐหรือเอกชนหรือปจเจกชนดวยกันก็ตาม
ในอันที่จะตองไมกระทําการหรือละเวนกระทําการอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่น
ในสวนที่เกี่ยวกับองคกรของรัฐ นอกจากองคกรของรัฐจะตองไมกระทําการหรือละเวนการกระทํา
อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนแลว องคกรของรัฐยังมีหนาที่กระทําการในการกําหนดมาตรการอันเปนหลักประกัน
สิทธิเพื่อใหสิทธิมนุษยชนของบุคคลไดรับการคุมครองอีกดวย ในสวนที่เกี่ยวกับเอกชนหรือปจเจกชนดวยกัน
เอกชนหรือปจเจกชนก็จะตองไมกระทําการใดหรือละเวนการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของเอกชน
หรือปจเจกชนอื่นดวย
ประการที่สี่ การปฏิบัติหนาที่ขององคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนมุงหมายที่การตรวจสอบการกระทําของ
บุคคลวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเปนหลัก กลาวอีกนัยหนึ่ง เงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของ
องคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนอยูที่ “การกระทํา” อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสําคัญ มิไดขึ้นอยูกับเงื่อนไข
เกี่ยวกับ “ตัวบุคคล” ผูกระทําแตอยางใด ดวยเหตุนี้ กฎหมายที่เกี่ยวของของแตละประเทศจึงมิไดกําหนดเงื่อนไข
เกี่ยวกับตัวบุคคลผูกระทําการหรือละเวนกระทําการอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนไวในกฎหมายแตประการใด
โดยนัยดังกลาว การกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนจึงอาจเกิดขึ้นไดทั้งใน “ความสัมพันธระหวางองคกร
ของรัฐกับเอกชน” และใน “ความสัมพันธระหวางเอกชนหรือปจเจกชนดวยกันเอง” สิทธิมนุษยชนยอมจะตอง
ไดรับการเคารพทั้งจากองคกรของรัฐและเอกชนหรือปจเจกชนทั้งหลายดวยในอันที่จะตองไมกระทําการใด ๆ
อันเปนการละเมิดสิทธิเหลานี้ของบุคคลคนหนึ่ง
อนึ่ง ในทางวิชาการกฎหมายมีการตีความโดยทั่วไปวาสิทธิมนุษยชนประการตาง ๆ ดังที่ไดรับการรับรอง
และคุมครองในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) และอนุสัญญา
แหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (European Convention for the Protection
of Human Rights and Fundamental Freedoms) จะตองตีความอยางกวาง และไดรับการรับรองและคุมครอง
ไมเพียงแตในความสัมพันธระหวางองคกรของรัฐและเอกชนเทานั้น หากแตยังไดรับการรับรองและคุมครอง
121 จรัญ โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7,
68