Page 84 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 84

-  รางกฎหมายที่อาจเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

                                         รางกฎหมายที่อาจจะเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยไดนั้นตามมาตรา 154
               วรรคแรกของรัฐธรรมนูญกําหนดวา ตองเปนรางพระราชบัญญัติที่รัฐสภาไดใหความเห็นชอบแลวเทานั้น หากมิใช

               เปนรางกฎหมายดังที่กลาวมาและรัฐสภายังมิไดใหความเห็นชอบในรางกฎหมายดังกลาว ยอมไมอาจเสนอใหศาล

               รัฐธรรมนูญวินิจฉัยตามมาตรา 262 ของรัฐธรรมนูญได
                                       - บุคคลที่มีสิทธิเสนอเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย

                                         บุคคลผูมีสิทธิเสนอเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยความชอบดวยรัฐธรรมนูญ
               ของรางพระราชบัญญัติตามมาตรา 154 ของรัฐธรรมนูญอาจแยกไดเปนสองกรณีคือ

                                    กรณีที่หนึ่ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน

               มีจํานวนไมนอยกวาหนึ่งในสิบของจํานวนสมาชิกทั้งหมดเทาที่มีอยูของทั้งสองสภา มีสิทธิเขาชื่อเสนอให
               ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได

                                    กรณีที่สอง นายกรัฐมนตรีอาจเสนอใหศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได หากนายกรัฐมนตรี

               เห็นวารางพระราชบัญญัติมีขอความขัดหรือแยง หรือตราขึ้นโดยไมถูกตองตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ
                                    (1.2)   การควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหลังการประกาศใช

                                       การควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหลังการประกาศใชยังจําแนก

               ไดอีกสองกรณี คือ
                                       ก. การควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายแบบนามธรรมตาม

               มาตรา 254
                                           โดยมาตรา 245 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

               บัญญัติวา “ผูตรวจการแผนดินอาจเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครองไดเมื่อเห็นวามีกรณี ดังตอไปนี้

                                           ก) บทบัญญัติแหงกฎหมายใดมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ
               ใหเสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ และใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้

               ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
                                           ข.) กฎ คําสั่ง ขอบังคับ หรือการกระทําใดของบุคคลใดตามมาตรา 244 (1)

               มีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ใหเสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครองและให

               ศาลปกครองพิจารณาวินิจฉัยโดยไมชักชา ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง”
                                       ข. การควบคุมความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายแบบรูปธรรมตาม

               มาตรา 211 และมาตรา 212

                                           ก) กรณีมาตรา 211 โดยมาตรา 211 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
               พุทธศักราช 2550 บัญญัติวา “ในการที่ศาลจะใชบทบัญญัติแหงกฎหมายบังคับแกคดีใด ถาศาลเห็นเองหรือคูความ

               โตแยงวาบทบัญญัติแหงกฎหมายนั้นตองดวยมาตรา 6 และยังไมมีคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในสวนที่เกี่ยวกับ

               บทบัญญัตินั้น ใหศาลสงความเห็นเชนวานั้นตามทางการเพื่อศาลรัฐธรรมนูญจะไดพิจารณาวินิจฉัย ในระหวางนั้น





                                                                                                               65
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89