Page 81 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 81
มีสิทธิเขาถึงการเปนเจาของ บมจ. ปตท. จึงฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาเพิกถอนพระราชกฤษฎีกาแปรรูป ปตท.
ดังกลาว
ศาลพิเคราะหแลวเห็นวา กระบวนการและขั้นตอนที่ไดกระทํากอนการตราพระราช
กฤษฎีกากําหนดอํานาจ สิทธิ และประโยชนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 และพระราชกฤษฎีกา
กําหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายวาดวยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2544 เปนการกระทําที่ชอบดวย
กฎหมายแลว สวนขออางที่วาการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดอํานาจ สิทธิ และประโยชนของบริษัท ปตท. จํากัด
(มหาชน) พ.ศ. 2544 และพระราชกฤษฎีกากําหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายวาดวยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย
พ.ศ. 2544 มีปญหาความชอบดวยกฎหมายนั้นเห็นวา การเวนคืนอสังหาริมทรัพยจะตองอาศัยอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายเฉพาะและตองใชเพื่อประโยชนในกิจการของรัฐเทานั้น เมื่อพระราชกฤษฎีกากําหนด
อํานาจ สิทธิ และประโยชนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พ.ศ. 2544 มิไดมีบทบัญญัติจํากัดการใชอํานาจ
มหาชนดังกลาวไว จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย เมื่อตอมาไดมีการตราพระราชกฤษฎีกากําหนดอํานาจ
สิทธิและประโยชนของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ซึ่งมาตรา 4 วรรคสองไดบัญญัติ
ใหอํานาจของ ปตท. ตามพระราชบัญญัติการปโตรเลียมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2521 โอนไปเปนอํานาจของ
คณะกรรมการกํากับการใชอํานาจของผูถูกฟองคดีที่ 4 จึงเปนบทบัญญัติที่ใหอํานาจแกคณะบุคคลกระทําการ
อันเปนการกระทบตอสิทธิในทรัพยสินของบุคคล ซึ่งไมอาจกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามพระราชกฤษฎีกาดังกลาว
จึงเห็นวาบทบัญญัติมาตรา 4 วรรคสองแหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาวไมชอบดวยกฎหมายสมควรเพิกถอน แตเหตุ
แหงความไมชอบดวยกฎหมายเชนวานี้ก็มิไดมีความรายแรงถึงขนาดที่จะเพิกถอนพระราชกฤษฎีกากําหนด
เงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายวาดวยการปโตรเลียมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2544 จึงใหผูถูกฟองคดีทั้งสี่รวมกันแบงแยก
ทรัพยสินในสวนที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดินประเภททรัพยสินในสวนที่เปนสาธารณสมบัติของแผนดิน
สิทธิการใชที่ดินเพื่อวางระบบการขนสงปโตรเลียมทางทอ รวมทั้งแยกอํานาจและสิทธิในสวนที่เปนอํานาจมหาชน
ของรัฐออกจากอํานาจและสิทธิของผูถูกฟองคดีที่ 4 ใหเสร็จสิ้นกอนการแตงตั้งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
ตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 สวนคําขอใหเพิกถอนพระราชกฤษฎีกาทั้งสอง
ฉบับนั้น ใหยก
ข. คําสั่งของศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดําที่ 1605/2551 (นายดนัย ดั่งคุณธรรม
กับพวก ผูฟองคดี)
คดีนี้ผูฟองคดีฟองวา การที่ผูถูกฟองคดีใชทั้งอํานาจทางปกครองและกําลังทางกายภาพ
เขาสลายการชุมนุมบริเวณรอบรัฐสภา ลานพระบรมรูปทรงมาโดยมิไดมีการประกาศแจงเตือนกอนการเขาสลาย
อีกทั้งใชวัตถุระเบิดหรืออาวุธสิ่งอื่น นอกเหนือไปจากแกสนํ้าตาเพื่อสลายการชุมนุมจนเปนเหตุใหผูฟองคดี ทั้งหก
และประชาชนที่เขารวมการชุมนุมไดรับบาดเจ็บเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายและเปนละเมิดตอ
สิทธิเสรีภาพและชีวิตรางกายของผูฟองคดีทั้งหก นอกจากนี้ยังเปนการกระทําที่ขัดตอหลักสิทธิมนุษยชน มิไดเปน
การบริหารบานเมืองโดยหลักนิติธรรมตามมาตรา 3 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
ศาลพิเคราะหแลวเห็นวา ผูเขารวมชุมนุมและผูฟองคดีแตละคนมีวัตถุประสงคในการ
เขารวมชุมนุมที่แตกตางกัน จึงไมอาจถือไดวาผูเขารวมชุมนุมมีการกระทําอันเปนการฝาฝนตอกฎหมายอันเปน
62