Page 59 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 59

(CSR)) หมายถึง ความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอมขององคกร ไดแก การดําเนินธุรกิจภายใตหลักจริยธรรม

              และการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบสังคมและสิ่งเเวดลอมทั้งในระดับไกลและใกล อันนําไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน
              ดวยการใชทรัพยากรที่มีอยูในองคกรหรือทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในอันที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคม

              ไดอยางเปนปกติสุข โดยหากพิจารณาแยกเปนรายคําศัพท คําวา Corporate มุงหมายถึง กิจการที่ดําเนินไป

              เพื่อแสวงหาผลกําไร (หมายรวมถึงองคกรประเภทอื่นไดดวย) สวนคําวา Social ในที่นี้ มุงหมายถึงกลุมคนที่มี
              ความสัมพันธกัน หรือมีวิถีรวมกันทั้งโดยธรรมชาติหรือโดยเจตนา รวมถึงสิ่งมีชีวิตอื่นและสิ่งแวดลอมที่อยูรายรอบ

              ประกอบ และคําวา Responsibility มุงหมายถึง การยอมรับทั้งผลที่ไมดีและผลที่ดีในกิจการที่ไดทําลงไปหรือ
              ที่อยูในความดูแลของกิจการนั้น ๆ ตลอดจนการรับภาระหรือเปนธุระดําเนินการปองกันและปรับปรุงแกไขผลที่ไมดี

              รวมถึงการสรางสรรคและบํารุงรักษาผลที่ดี ซึ่งสงกระทบไปยังผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ซึ่งหลักเกณฑดังกลาว

              ประกอบดวย
                               (ก)  ที่มาของแนวคิดเรื่อง “ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ”

                               (ข)  หลักการของแนวคิดเรื่อง “ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ” และ

                               (ค)  แนวปฏิบัติของแนวคิดเรื่อง “ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ” ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
                                  -  ที่มาของแนวคิดเรื่อง “ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ” (Corporate Social

              Responsibility (CSR))

                                  นับตั้งแต ป พ.ศ. 2542 กระแสแนวคิดเกี่ยวกับเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม
              ของธุรกิจ (CSR) ไดมีพัฒนาการที่ชัดเจนมากขึ้น เมื่อนายโคฟ อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติในขณะนั้น

              ไดออกมาเรียกรองใหธุรกิจทั่วโลกแสดงความเปนพลเมืองที่ดีของโลก (good global citizenship) รวมทั้ง
              ประกาศ “The UN Global Compact” เพื่อใชเปนกรอบดําเนินการการพัฒนาที่ยั่งยืนสําหรับองคกรธุรกิจตอไป

              และในปถัดมา องคกรเพื่อความรวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ก็ไดออกแนวปฏิบัติสําหรับบรรษัท

              ขามชาติ (The OECD Guidelines for Multinational Enterprises) เสนอแนะใหบรรษัทขามชาติของประเทศ
              สมาชิก OECD มี CSR และติดตอคาขายกับคูคาที่มี CSR เทานั้น

                                    ทั้งนี้ หลักการ CSR สามารถสรุปดวยคํากลาวของ Bjorn Stigson ประธานสภา
              ธุรกิจโลก  เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (world Business Council for Sustainable Development (WBCSD)) ที่วา

              “ธุรกิจไมสามารถประสบความสําเร็จไดในสังคมที่ลมเหลว” (Business cannot succeed in a society that

              fails.) 93
                                  สําหรับแนวปฏิบัติในเรื่อง CSR นั้น สามารถแบงออกไดเปน 8 เรื่อง ดังนี้

                                  -  การกํากับดูแลกิจการที่ดี

                                  -  การประกอบธุรกิจดวยความเปนธรรม
                                  -  การเคารพตอสิทธิมนุษยชนและการปฏิบัติตอแรงงานอยางเปนธรรม

                                  -  ความรับผิดชอบตอผูบริโภค



              93  เข็มทิศธุรกิจเพื่อสังคม : คูมือชวยบอกพิกัดการดําเนินงานที่มีเปาหมายดานธุรกิจควบคูความรับผิดชอบตอสังคม โดย คณะทํางานสงเสริมความรับผิดชอบ
                ตอสังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัทจดทะเบียน, คณะกรรมการการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (กลต.)

          40
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64