Page 58 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 58
- ใหความชวยเหลือในการจัดทําโครงการหลักสูตรตาง ๆ สําหรับการสอนการวิจัย
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนใหแกโรงเรียน มหาวิทยาลัย และวงการวิชาชีพตาง ๆ
- เผยแพรเรื่องสิทธิมนุษยชนและความพยายามที่จะตอตานการเลือกปฏิบัติ
ในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ โดยยกระดับความรับรูของสาธารณชนดวยการให
ขอมูลขาวสาร ใหการศึกษาและสื่อมวลชนทุกประเภท
3) การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
สถาบันฯ ควรจะตองไดรับอํานาจในการสอบสวนคํารองเรียนเกี่ยวกับการละเมิด
สิทธิมนุษยชนที่มีการบัญญัติรับรองไวอยางชัดเจนตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย โดยมีอํานาจเรียกเจาหนาที่ของรัฐ
และบุคคลมาชี้แจงขอเท็จจริงโดยในการรับและสอบสวนเรื่องราวรองทุกขจากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่ถูกละเมิด
สิทธิมนุษยชน หลักการปารีสกําหนดใหสถาบันฯ ตองยึดหลักการแสวงหาขอยุติฉันมิตรภาพผานการเจรจาไกลเกลี่ย
ตองมีการแจงใหผูรองเรียนทราบถึงสิทธิของตนที่มี ตลอดจนวิธีการที่จะแกไขเยียวยาและสงเสริมใหผูรองเรียน
เขาถึงกลไกเหลานี้ได รวมทั้งการพิจารณาไตสวนคํารองเรียนหรือสงเรื่องตอไปใหหนวยงานหรือองคกรที่มีอํานาจ
พิจารณา และเมื่อพิจารณาอํานาจในสวนนี้ของสถาบันฯ จะทําใหเห็นถึงธรรมชาติของการเปนองคกรกึ่งตุลาการ
ในตัวสถาบันฯ ซึ่งมีอํานาจไกลเกลี่ยชี้ขาดใหเกิดขอยุติปญหาในระดับหนึ่ง แตก็มิใชมีอํานาจตุลาการที่จะตัดสินปญหา
และบังคับการลงโทษไดเสร็จเด็ดขาดในตัวเอง และอํานาจสวนนี้ของสถาบันฯ โดยทั่วไปมักจํากัดขอบอํานาจไว
ในระดับหนึ่งเพื่อมิใหเกิดการซอนทับอํานาจขององคกรที่อาจเกิดขึ้นได โดยเฉพาะอํานาจของฝายตุลาการโดยตรง 92
อํานาจหนาที่ของสถาบันฯ ตามหลักการปารีสที่กลาวมาขางตน ถือวาการมีอํานาจหนาที่
ที่ชัดเจนและเพียงพอ โดยเฉพาะอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการรับและสอบสวนเรื่องราวรองทุกขจากบุคคลหรือกลุม
บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรืออํานาจในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เปนการทําใหการคุมครอง
และสงเสริมการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยสถาบันฯ มีประสิทธิภาพมากที่สุด
จากอํานาจหนาที่ของสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงชาติตามหลักการปารีสดังกลาว จะเห็น
ไดวา หลักการปารีสในฐานะที่เปนมาตรฐานสากลระหวางประเทศเกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
โดยสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ไดกําหนดใหอํานาจแกสถาบันฯ ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันเองได โดยใหมีอํานาจรับเรื่องรองเรียนจากบุคคลหรือกลุมบุคคลที่ถูกละเมิด
สิทธิมนุษยชน แตสิทธิมนุษยชนที่ถูกละเมิดนั้นตองเปนสิทธิมนุษยชนที่มีการบัญญัติรับรองไวอยางชัดเจน
ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
1.3.4 บทบาทในการคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยภาคเอกชน ตามแนวคิดเรื่อง “ความรับผิดชอบตอสังคม
ของธุรกิจ (Corporate Social Responsibility (CSR))”
นอกจากการคุมครองสิทธิมนุษยชนจะเปนอํานาจหนาที่และบทบาทโดยตรงของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติซึ่งเปนองคกรภาครัฐแลว ปจจุบันภาคเอกชนโดยเฉพาะในภาคธุรกิจก็ไดมีความ
พยายามที่จะกําหนดหลักเกณฑ เพื่อใชในการคุมครองสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันซึ่งได
มีการดําเนินการภายใตหลักเกณฑ “ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ” (Corporate Social Responsibility
92 จรัญ โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 515.
39