Page 63 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 63

“สภายุโรป (Council of Europe)”  ซึ่งเปนองคการความรวมมือระหวางรัฐบาลที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนา
                                             95
              กฎหมายระหวางประเทศที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน และมีฐานะเปนองคการระหวางประเทศที่มีบทบาท
              สําคัญในการยกรางอนุสัญญายุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ค.ศ. 1950 ซึ่งมีผลใช

                                             96
              บังคับเมื่อวันที่ 3 กันยายน ค.ศ. 1953  และกฎบัตรทางสังคมของยุโรป ค.ศ. 1961 ซึ่งมีรายละเอียดตามลําดับดังนี้
                            -  อนุสัญญายุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ค.ศ. 1950 (European
              Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedom 1950) ไดกําหนด

              หลักการสําคัญในการคุมครองสิทธิมนุษยชนใหแกปจเจกบุคคลในฐานะเปนผูเสียหายไววา ในกรณีที่รัฐภาคีถูกรัฐอื่น
                                                                                                      97
              ซึ่งเปนภาคีแหงอนุสัญญาละเมิดหรือฝาฝนบทบัญญัติที่เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพที่รับรองไวในอนุสัญญา หรือ
              เปนกรณีที่ปจเจกบุคคลภายในรัฐภาคีซึ่งเปนผูเสียหายกลาวอางวาตนตกเปนผูถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพซึ่งถูก

                                 98
              รับรองไวในอนุสัญญา  รัฐภาคีผูเสียหายหรือปจเจกบุคคลผูเสียหายสามารถรองทุกขไปยังศาลสิทธิมนุษยชน
              แหงยุโรป (European Court of Human Rights) ไดโดยตรง มีเงื่อนไขวาปจเจกบุคคลผูถูกละเมิดสิทธิและ

              เสรีภาพตามอนุสัญญาสามารถนําคดีมาสูศาลได ก็ตอเมื่อปจเจกบุคคลนั้นไดดําเนินการเยียวยาความเสียหาย

              ตามขั้นตอนของกฎหมายภายในของรัฐจนครบถวนเสียกอน และความเสียหายนั้นไมสามารถเยียวยาไดตามระบบ
              กฎหมายภายในอีกตอไป ทั้งนี้ จะตองยื่นคํารองทุกขตอศาลสิทธิมนุษยชนแหงยุโรปภายในระยะเวลา 6 เดือน

              นับแตคําตัดสินครั้งสุดทายของกระบวนการภายในสิ้นสุดลง 99

                            สําหรับการพิจารณาสาระสําคัญของอนุสัญญาฉบับนี้อาจแยกพิจารณาออกไดเปนสองสวน
              เชนกัน คือ

                            สวนแรก เปนบทบัญญัติรับรองถึงสิทธิและเสรีภาพตาง ๆ ของบุคคล ไดแก สิทธิในชีวิตรางกาย
              ของบุคคล สิทธิของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมในทางอาญา สิทธิในการไดรับการแกไขความเดือดรอนเสียหาย

              ของบุคคลจากการกระทําละเมิดสิทธิจากผูมีอํานาจในประเทศของตน เปนตน ซึ่งสาระสําคัญของอนุสัญญาฯ




              95  แมสหภาพยุโรป (European Union: EU) จะเปนการรวมกลุมของรัฐหรือเปนองคการระหวางประเทศ แตโครงสรางของสหภาพยุโรปนั้นมีลักษณะ
               “เหนือชาติ” (supranational trait) อยางชัดเจน เนื่องจากรัฐสมาชิกมีบทบาทในการรวมสรางสรรคสถาบันหรือหนวยงานภายใน ซึ่งมีอํานาจเหนือรัฐ
                สมาชิกรัฐใดรัฐหนึ่งโดยเฉพาะ อันประกอบไปดวย สภายุโรป คณะมนตรี คณะกรรมาธิการ และศาลยุติธรรม โดยภารกิจหลักของสภายุโรป จะเปนการรวม
                ตัดสินใจกับคณะมนตรีในประเด็นตาง ๆ ไดแก การพิจารณารางกฎหมายของสหภาพซึ่งริเริ่มโดยคณะกรรมาธิการ การอนุมัติงบประมาณของสหภาพยุโรป
                ใหการรับรองความตกลงระหวางประเทศของสหภาพยุโรปกับประเทศนอกกลุม และที่สําคัญที่สุดคือการใหการรับรองผูดํารงตําแหนงในคณะกรรมาธิการ
                ยุโรป
              96  Nicola Rowe and Volker Schlette, “The Protection of Human Rights in European after the Eleventh Protocol to the ECHR”
                European Law Review. (London : Sweet & Maxwell, 1998), p. 2.
              97  Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedom 1950 Article 33 - Inter-State cases Any High Contracting
                Party may refer to the Court any alleged breach of the provisions of the Convention and the protocols thereto by another High
               Contracting Party.
              98  Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedom 1950 Article 34 - Individual applications The Court
                may receive applications from any person, non-governmental organization or group of individuals claiming to be the victim
                of a violation by one of the High Contracting Parties of the rights set forth in the Convention or the protocols thereto. The High
                Contracting Parties undertake not to hinder in any way the effective exercise of this right.
              99  Convention for the Protection of Human Rights and Fundamental Freedom 1950 Article 35 - Admissibility criteria  1. The Court
                many only deal with the matter after all domestic remedies have been exhausted, according to the generally recognized rule
                of international law, and within a period of six months form the date on which the final decision was taken……

          44
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68