Page 54 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 54
ทําไดเพียงแตจะยอมรับหรือปฏิเสธการทําสัญญาเทานั้น การเจรจาตอรองกันในสัญญาจะไมมีในสัญญาเหลานี้
และหลักที่วาสัญญาเกิดจากเจตนารวมกันโดยเสรีของคูสัญญาก็จะเปนไปไมไดอีกตอไป ความเปนธรรมในสังคม
ก็ไมมี เพราะในเมื่อขอสัญญาไดถูกกําหนดอยางไมเปนธรรมไวลวงหนาจากผูประกอบธุรกิจแตฝายเดียว และอีก
ฝายหนึ่งอยูในภาวะจํายอมตองทําสัญญาดวย สัญญาเหลานี้จึงเสมือนเกิดจากเจตนาของผูประกอบธุรกิจ
ฝายเดียว หลักเจตนาและหลักเสรีภาพในการทําสัญญาจึงไมอาจเกิดขึ้นไดในสัญญาที่ไมมีความเทาเทียมกันในการ
88
ทําสัญญาจริงๆ โดยเฉพาะในสัญญาจางแรงงานคูสัญญาไมไดมีความเสมอภาคหรือมีเสรีภาพในการทําสัญญาอยางแทจริง
ในสัญญาจางแรงงานนายจางเปนผูที่อยูในสถานะที่ไดเปรียบกวาลูกจางเพราะเปนเจาของปจจัยในการผลิต
ในขณะที่ลูกจางมีแตเพียงแรงงานที่จะขายใหแกนายจางเทานั้น ความจําเปนทางเศรษฐกิจทําใหลูกจางไมอาจเปน
ผูตั้งเงื่อนไขตอรองกับนายจางได เพราะมีแรงงานในตลาดที่พรอมจะทําตามเงื่อนไขหรือความพอใจของนายจาง
อยูมากมาย จึงเห็นไดวาลูกจางถูกความจําเปนทางเศรษฐกิจบีบบังคับไมใหมีเสรีภาพในการที่จะตอรองกับนายจาง
89
ไดอยางเต็มที่ เสรีภาพความเสมอภาคในการทําสัญญาจางแรงงาน ในทางความเปนจริงจึงเปนไปไมได
และนายจางมักจะขูดรีดเอาประโยชนจากแรงงานลูกจาง เชน กําหนดใหลูกจางทํางานลวงเวลาโดยไมจาย
คาลวงเวลา จายคาแรงใหแกลูกจางในราคาที่ถูก และไมใหสวัสดิการหรือจัดหามาตรการในการรักษาความ
ปลอดภัยในการทํางานใหแกลูกจาง และกดขี่ขูดรีดผูใชแรงงานในลักษณะตาง ๆ เปนตน นอกจากนี้ แมกระทั่ง
ระหวางคนในครอบครัวดวยกันก็ไมมีความเสมอภาคเทาเทียมกันในความเปนจริง กลาวคือ เนื่องจากความสัมพันธ
ภายในครอบครัวจะมีผูที่เปนหัวหนาครอบครัวซึ่งมีหนาที่ในการปกครองเลี้ยงดูสมาชิกในครอบครัวและมีอํานาจ
เหนือสมาชิกทุกคนในครอบครัว สวนสมาชิกในครอบครัวก็มีหนาที่ตองเชื่อฟงคําสั่งและอยูใตอํานาจของ
หัวหนาครอบครัวเพราะตองพึ่งพาผูเปนหัวหนาครอบครัวสําหรับปจจัยตาง ๆ ที่จําเปนในการดํารงชีวิต ในบางกรณี
ผูเปนหัวหนาครอบครัวอาจใชอํานาจเหนือที่ตนมีกระทําการที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคนในครอบครัว เชน
การใชความรุนแรงกับคนในครอบครัวดวยวิธีการตาง ๆ หรือการละเมิดสิทธิเด็ก และคนในครอบครัวที่ถูกใช
ความรุนแรงหรือละเมิดสิทธิดังกลาวก็ตองจํายอมเพราะ ยังตองพึ่งพาอาศัยผูที่เปนหัวหนาครอบครัวอยู
จากความไมเสมอภาคเทาเทียมกันในความเปนจริงที่เกิดขึ้นในสังคมดังกลาว ไดกอใหเกิด
ความทุกขยากแกคนสวนใหญของสังคมเปนอยางมากและถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน รัฐจึงมีหนาที่ตอง
เขาไปปกปองคุมครองคุมครองผูที่ออนแอกวาหรือดอยกวาในสังคมดังกลาวเพื่อใหเกิดความยุติธรรมในสังคม
เพื่อใหเขาเหลานั้นมีสภาพชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น มีความเสมอภาคเทาเทียมทั้งในความเปนจริงและในทาง
กฎหมายไมนอยไปกวาผูมีอํานาจในสังคมหรือผูมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวาและเพื่อเปนการคุมครองสิทธิมนุษยชน
ของคนเหลานั้น ดังนั้น ประเทศตาง ๆ รวมทั้งประเทศไทย จึงไดมีการกําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติมีอํานาจเขาไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกัน
88 พอพันธุ คิดจิตต, “แนวความคิดและผลกระทบเกี่ยวกับขอสัญญาที่ไมเปนธรรม”, ดุลพาห, ปที่ 40, เลมที่ 6, พฤศจิกายน - ธันวาคม 2536, น. 40 - 41.
89 มาลี พฤกษพงศาวลี, “สิทธิทางดานแรงงาน : ปจจัยพื้นฐานของสิทธิมนุษยชน,” น. 6 7.
35