Page 53 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 53
1.3 แนวคิด หลักการ และมาตรฐานสากลเกี่ยวกับขอบอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีผูรองและผูถูกรองเปนเอกชนดวยกัน
จากความหมายของสิทธิมนุษยชนตามที่กลาวมาขางตนจะเห็นวา นอกจากสิทธิมนุษยชนจะมีความผูกพัน
ตอรัฐในการตรากฎหมายเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน การใชบังคับกฎหมายโดยคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน
และการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยองคกรตุลาการและองคกรที่มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริมคุมครอง
สิทธิมนุษยชนเปนการเฉพาะ สิทธิมนุษยชนยังมีความผูกพันตอเอกชนดวยกันดวยในการที่จะไมกระทําการใด ๆ
ที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนซึ่งกันและกัน ดังนั้น รัฐจึงมีหนาที่ตองใหความคุมครองสิทธิมนุษยชนของบุคคล
ซึ่งอาจเกิดจากการละเมิดของหนวยงานหรือเจาหนาที่ของรัฐและการละเมิดระหวางเอกชนดวยกันเอง และในการ
ที่รัฐโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติซึ่งเปนองคกรที่มีอํานาจในการสงเสริมคุมครองสิทธิมนุษยชน
เปนการเฉพาะจะเขาไปตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันดังกลาว
มีแนวคิด หลักการ และมาตรฐานสากลที่ตองพิจารณาดังนี้
1.3.1 แนวคิดเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน
โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการใหอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนกับเอกชนดวยกัน เปนแนวคิดที่เกิดขึ้นในชวงศตวรรษที่ 19 ทั้งนี้
เพื่อจะเยียวยาแกไขความอยุติธรรมและความไรมนุษยธรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ณ ขณะนั้น อันเปนผลมาจากแนวคิด
ที่เรียกวา “ลัทธิเสรีนิยม” (Liberalism) ที่เปดโอกาสใหมีการเอารัดเอาเปรียบกันเปนอยางมากของผูคนในสังคม
โดยเฉพาะผูที่มีความแข็งแรงกวามีอํานาจตอรองในทางเศรษฐกิจที่เหนือกวา มักจะใชความแข็งแรงและอํานาจ
ตอรองที่เหนือกวาของตนดังกลาวกดขี่ขมเหงเอารัดเอาเปรียบผูที่ออนแอกวาหรือดอยกวาเพื่อแสวงหาประโยชน
แกตนใหมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องจากลัทธิดังกลาวเชื่อและยกยองในความดีและมีเหตุผลของมนุษยแตละคน มนุษยทุกคน
จึงมีความเสมอภาคเทาเทียมกันในการที่จะกระทําการตาง ๆ ดวยตนเองไดโดยเสรี แตความเสมอภาคเทาเทียมกัน
ของมนุษยทุกคนตามแนวคิดดังกลาวเปนความเสมอภาคเทาเทียมกันเฉพาะในทางกฎหมายหรือในทางรูปแบบเทานั้น
แตในความเปนจริงมนุษยไมไดมีความเสมอภาคเทาเทียมกันทุกคน ความเสมอภาคเทาเทียมที่แทจริง มีอยูจําเพาะ
คนบางกลุมในสังคมเทานั้นคือ เฉพาะผูที่แข็งแรงกวาหรือมีฐานะทางเศรษฐกิจหรืออํานาจตอรองในทางเศรษฐกิจ
ดีกวาเหนือกวาซึ่งเปนคนสวนนอยในสังคม และคนสวนนอยเหลานี้ก็จะใชความแข็งแรงและอํานาจเหนือที่ตนมี
กําหนดความเปนไปของสังคมตามอําเภอใจ โดยไมคํานึงถึงผูที่ออนแอกวาหรือดอยกวาซึ่งเปนคนสวนใหญในสังคม
แตประการใด
ตัวอยางเชน ในเรื่องเสรีภาพในการแสดงเจตนาและเสรีภาพในการทําสัญญาในความเปนจริง
เกิดความไมเสมอภาคระหวางคูสัญญาโดยแสดงออกในรูปของการไมมีการเจรจาตอรองกัน คูสัญญาฝายหนึ่งเปนฝาย
ที่เสียเปรียบในทางเศรษฐกิจถูกจํากัดในทางความเปนจริงวาตองเขารวมทําสัญญากับอีกฝายหนึ่งโดยตองยอมรับ
ตามขอสัญญาที่ผูประกอบธุรกิจการคาหรือวิชาชีพไดกําหนดไวลวงหนาแลว เชน สัญญากูยืม สัญญาเชาซื้อ
กรมธรรมประกันภัย หรือสัญญาจาง เปนตน สัญญาเหลานี้จะถูกรางเนื้อหาขอสัญญาไวกอนแลวโดยผูประกอบธุรกิจ
และจะไมมีการเปลี่ยนแปลง อีกฝายที่จะเขาทําสัญญาดวยไมมีสิทธิจะแกไขเปลี่ยนแปลงขอสัญญาดังกลาว แตจะ
34