Page 50 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 50

-  กระตุนสงเสริมใหมีการใหสัตยาบันและปฏิบัติตามมาตรฐานระหวางประเทศ

                                       -  ชวยเหลือในกระบวนการทํารายงานที่ตองกระทําภายใตตราสารระหวาง
               ประเทศ ชวยเหลือในการจัดทําแผนงานดานการสอนและวิจัยดานสิทธิมนุษยชน

                                       -  เพิ่มความสนใจตื่นตัวของสาธารณชนตอเรื่องของสิทธิมนุษยชนผานการให

               ขอมูลขาวสารและการศึกษา ประสานความรวมมือกับสหประชาชาติ สถาบันระดับภูมิภาค และสถาบันระดับชาติ
               ของประเทศอื่น ๆ และรับเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของเอกชน

                                         ปจจุบันองคกรสิทธิมนุษยชนแหงชาติในบางประเทศมีอํานาจในการนําคดีขึ้น
               ดําเนินการในชั้นศาลไดดวย โดยทําหนาที่ฟองคดีตอศาล เชน สาธารณรัฐฝรั่งเศส ประเทศออสเตรเลีย และ

               ประเทศไทย โดยเฉพาะประเทศไทย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 257

               ที่กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจเสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญได
               ในกรณีที่คณะกรรมการฯ เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียนวาบทบัญญัติแหงกฎหมายใดกระทบตอสิทธิมนุษยชน

               และมีปญหาเกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญ เสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบ

               ตามที่มีผูรองเรียนวา กฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใดในทางปกครองกระทบตอสิทธิมนุษยชนและมีปญหา
               เกี่ยวกับความชอบดวยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย และฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอ

               จากผูเสียหาย และเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม

                                                              85
                                     ข. ผูตรวจการแผนดิน  องคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนที่ไมเปนองคกรศาล
               นอกจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติแลว ในหลายประเทศยังมีอีกองคกรหนึ่งที่เรียกวา “ผูตรวจการ

               แผนดิน” ผูตรวจการแผนดิน อาจประกอบดวยบุคคลหรือหลายคนก็ไดและมักไดรับการแตงตั้งจากรัฐสภา
               แตในบางประเทศอาจไดรับแตงตั้งจากประมุขของรัฐและตองทํารายงานตอประมุขของรัฐดวย อํานาจหนาที่ของ

               ผูตรวจการแผนดินของรัฐสภาโดยทั่วไปจะดูแลกํากับการบริหารรัฐกิจใหเปนไปดวยความถูกตองและเปนธรรม

               ตามกฎหมาย เพื่อคุมครองสิทธิของบุคคลผูที่เชื่อวาตนตกเปนเหยื่อการกระทําที่ไมชอบโดยฝายปกครอง รวมทั้ง
               ทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยอยางเปนกลาง ระหวางผูรองเรียนกับฝายรัฐบาลหรือเจาหนาที่ของรัฐดวย อํานาจหนาที่

               ของผูตรวจการแผนดินในแตละประเทศอาจแตกตางกันไป แตที่เหมือนกันในสาระสําคัญคือ การรับคํารองเรียน
               จากสาธารณชนและสอบสวนกรณีที่เกิดขึ้นตามอํานาจหนาที่ โดยสามารถเขาถึงเอกสารทางราชการที่เกี่ยวของ

               ตลอดจนมีอํานาจเรียกพยานมาใหถอยคํารวมทั้งเจาหนาที่รัฐ จากนั้นจะทํารายงานสรุปไปใหผูรองเรียนและ

               หนวยงานหรือเจาหนาที่ที่ถูกรองเรียน เพื่อแกไขดําเนินการใหถูกตองตอไป หากไมมีการดําเนินการใด ๆ  ก็อาจทํา
               รายงานเสนอตอรัฐสภาเปนเรื่อง ๆ ไป นอกเหนือจากการรายงานที่ตองทําเปนปกติอยูแลว และรายงานสรุปผลการ

               สอบสวนจะประกอบไปดวยขอมูลที่เกี่ยวของกับประเด็นปญหาและระบุขอแนะนํา เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลง

               ในเชิงนิติบัญญัติและเชิงการปกครอง
                           ผูตรวจการแผนดินในระยะแรก ๆ จะไมมีอํานาจหนาที่เกี่ยวของกับเรื่องสิทธิมนุษยชนโดยตรง ยกเวน

               กรณีที่เกี่ยวของกับภาระหนาที่หลักในการกํากับดูแลการบริหารการปกครองใหบริสุทธิ์ยุติธรรมตามที่กฎหมาย





               85   รายละเอียดโปรดดูใน กุลพล พลวัน, อางแลว  เชิงอรรถที่ 3, น. 175  186.

                                                                                                               31
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55