Page 52 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 52

(ง)  ศาลตองใหเหตุผลประกอบคําพิพากษาของตนเสมอ การบังคับใหศาลตอง

               แสดงขอเท็จจริงและขอกฎหมายที่เปนเหตุผลในการวินิจฉัยขอพิพาทไปทางใดทางหนึ่งใหปรากฏตอคูความ
               ยอมเปนหลักประกันแกเอกชนวาศาลจะไมพิพากษาคดีตามอําเภอใจไดเปนอยางดีเชนกัน

                                     ทั้งนี้ ทั้งศาลในระบบกฎหมายเอกชนและศาลในระบบกฎหมายมหาชน ไดแก

               ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญ ตัวอยางเชน ในกรณีของประเทศไทยศาลยุติธรรมมีสวน
               ในการคุมครองสิทธิมนุษยชน คือ การที่รัฐธรรมนูญฯ กําหนดใหศาลยุติธรรมมีอํานาจในการพิจารณาออกหมายจับ

               หมายขัง บุคคลและหมายคน เพื่อใหศาลยุติธรรมเปนผูพิจารณากลั่นกรองและตรวจสอบการใชอํานาจของ
               เจาหนาที่กอนที่จะเขาทําการจับ ขัง และคน อันมีลักษณะเปนการคุมครองสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับสิทธิในกระบวนการ

               ยุติธรรม ศาลปกครองมีสวนในการคุมครองสิทธิมนุษยชน คือ เนื่องจากศาลปกครองมีอํานาจหนาที่ในการควบคุม

               ตรวจสอบความชอบดวยกฎหมายของการกระทําทางปกครองตาง ๆ ที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ
               กอใหเกิดความเดือดรอนเสียหายหรือละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยการมีคําสั่งใหยกเลิกเพิกถอน

               การกระทําดังกลาวหรือสั่งใหชดใชคาเสียหายหรือดําเนินการใด ๆ เพื่อเยียวยาความเดือดรอนเสียหายที่เกิด

               แกประชาชน และศาลรัฐธรรมนูญมีสวนในการคุมครองสิทธิมนุษยชน คือ การที่รัฐธรรมนูญกําหนดให
               สิทธิและเสรีภาพที่รับรองไวโดยคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญไดรับความคุมครองและผูกพันองคกรของรัฐทุก

               องคกรโดยตรงในการตรากฎหมาย การใชบังคับกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง และกําหนดใหบุคคล

               ซึ่งถูกละเมิดสิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองไวมีสิทธิยื่นคํารองโดยตรงตอศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อใหศาลรัฐธรรมนูญ
               มีคําวินิจฉัยวาบทบัญญัติแหงกฎหมายใดขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญได ในกรณีที่บุคคลนั้นไดยื่นคํารองตอคณะกรรมการ

               สิทธิมนุษยชนแหงชาติหรือผูตรวจการแผนดิน เพื่อใหเสนอเรื่องใหศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยแลว
               แตองคกรทั้งสองดังกลาวไมไดดําเนินการเสนอเรื่องตอศาลรัฐธรรมนูญ

                                     นอกจากนี้ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง และศาลรัฐธรรมนูญยังมีสวนในการคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนในกรณีที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดเสนอเรื่องพรอมความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญหรือ
               ศาลปกครองในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผูรองเรียน และฟองคดีตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหายในกรณีที่เห็นสมควร

               เพื่อแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวมตามที่ไดกลาวไปแลวขางตน
                                     ตัวอยางคําวินิจฉัยของศาลไทยเกี่ยวกับการใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของ

               ประชาชน อาทิเชน

                                     คําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ 21/2556 คดีนี้ศาลรัฐธรรมนูญไดวางหลักไววา
               พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พ.ศ. 2505 มาตรา 12 ซึ่งเปนบทบัญญัติบังคับใหหญิงมีสามีตองใชชื่อสกุลของสามีเทานั้น

               ถือเปนการลิดรอนสิทธิในการใชชื่อสกุลของหญิงมีสามี ทําใหชายและหญิง มีสิทธิไมเทาเทียมกัน เนื่องจากเปนการ

               บังคับใหหญิงมีสามีใชชื่อสกุลของสามีเพียงฝายเดียวโดยใชสถานะการสมรส ซึ่งมิไดเปนเหตุผลในเรื่องความ
               แตกตางทางกายภาพ หรือภาระหนาที่ระหวางชายและหญิงที่มีผลมาจากความแตกตางทางเพศ จนทําใหตอง

               มีการเลือกปฏิบัติใหแตกตางกันอันจะถือวาเปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม กรณีจึงเปนการขัดตอหลักความ

               เสมอภาคเพราะเหตุแหงความแตกตางกันในเรื่องเพศและสถานะของบุคคล บทบัญญัติของกฎหมายฉบับดังกลาว
               จึงมีขอความขัดหรือแยงกับรัฐธรรมนูญ มาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

               จึงใชบังคับมิไดตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 6
                                                                                                               33
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57