Page 48 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 48

ในการวางหลักประกันใหมีขอยุติฉันมิตรภาพ เพื่อสรางความกาวหนาในการสงเสริมสิทธิมนุษยชนที่อยูในเขต

               ความรับผิดชอบของยูเนสโก การมีมติรับรองปฏิญญาสากลวาดวยรหัสสารพันธุกรรมมนุษยและสิทธิมนุษยชน
               อันเปนการสรางบรรทัดฐานทางสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของกับจริยธรรมทางดานชีวะ

                                     -  องคกรที่จัดตั้งตามตราสารสิทธิมนุษยชน 82

                                     องคกรสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศตามตราสารสิทธิมนุษยชนมีหลายองคกร
               ดวยกัน แตในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะองคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง

               และสิทธิทางการเมือง และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในฐานะที่เปน
               ตราสารสําคัญในการรับรองคุมครองสิทธิมนุษยชนเทานั้น ซึ่งแตละกติกาฯ ไดจัดตั้งองคกรคุมครองสิทธิมนุษยชน

               ไวดังนี้

                                     ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ  คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
               ไดรับการจัดตั้งขึ้นตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เพื่อทําหนาที่ในการ

               ตรวจสอบการปฏิบัติของรัฐสมาชิกตาง ๆ ที่มีพันธะในการสงเสริมคุมครองสิทธิตาง ๆ ตามที่ระบุไวในกติกาฯ

               คณะกรรมการฯ ประกอบดวย กรรมการซึ่งเปนผูเชี่ยวชาญอิสระ จํานวน 18 คน ที่ไดรับเลือกตั้งจากรัฐสมาชิก
               ในกติกาฯ  โดยตองเปนบุคคลที่มีบุคลิกภาพทางศีลธรรมระดับสูง  และความสามารถเชี่ยวชาญในเรื่อง

               สิทธิมนุษยชนจนเปนที่ยอมรับและมีประสบการณทางกฎหมายหรือนักกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อประโยชนในการประชุม

               คณะกรรมการฯ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบพิจารณารายงานที่เสนอโดยรัฐสมาชิก สรุปขอคิดเห็นหรือขอสังเกต
               ตอรายงานดังกลาวแลวสงตอใหรัฐภาคีเจาของรายงาน สงสําเนารายงานและขอสังเกตไปถึงคณะมนตรีเศรษฐกิจ

               และสังคมของสหประชาชาติเพื่อพิจารณา และสงรายงานประจําปเกี่ยวกับกิจกรรมที่ไดกระทําทั้งหมด
               ตอสมัชชาทั่วไปสหประชาชาติ และตรวจสอบหนังสือรองเรียนจากเอกชนที่อางวาเปนผูถูกละเมิดสิทธิใด ๆ

               ที่กําหนดไวตามกติกาฯ ดังกลาวโดยรัฐภาคี ตามที่กําหนดไวในพิธีสารเลือกรับฉบับแรกของกติกาฯ

                                     ข. คณะกรรมาธิการวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เดิมการ
               ตรวจสอบดูแลใหประเทศสมาชิกปฏิบัติตามกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

               เปนอํานาจของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ ตอมา คณะมนตรีเศรษฐกิจฯ ไดมีมติกอตั้ง
               คณะกรรมาธิการวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมขึ้น เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบดูแลใหประเทศ

               สมาชิกปฏิบัติตามกติกาฯ ฉบับนี้แทนคณะมนตรีเศรษฐกิจฯ โดยเฉพาะการตรวจสอบรายงานของรัฐสมาชิก

               และสงขอสังเกตไปใหคณะมนตรีเศรษฐกิจฯ และองคการสิทธิมนุษยชนอื่นของสหประชาชาติที่เกี่ยวของกับ
               สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม  อีกชั้นหนึ่ง คณะกรรมาธิการฯ ประกอบดวย คณะผูเชี่ยวชาญจํานวน 18 คน

               และในการพิจารณาตรวจสอบรายงานของแตละรัฐ โดยคณะกรรมาธิการวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจฯ รัฐเจาของรายงาน

               จะไดรับเชิญใหสงผูแทนหนึ่งคนเขานําเสนอชี้แจงรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมาธิการฯ โดยคณะกรรมาธิการฯ
               สามารถซักถามประเด็นตางๆ ได และคณะกรรมาธิการฯ สามารถขอใหเสนอรายงานเฉพาะคราวเมื่อมีสถานการณ

               ที่นาเปนหวงเกิดขึ้นหรือตั้งคณะตรวจสอบขอเท็จจริงเพื่อคนหาขอมูลชั้นตนเพิ่มเติมเกี่ยวกับปญหาสิทธิเฉพาะเรื่อง





               82  เพิ่งอาง, น. 319  320, น. 340  342.

                                                                                                               29
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53