Page 41 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 41

แตอยางใด ดวยเหตุนี้เสรีภาพที่เทาเทียมหรือเสมอภาคกันตามรูปแบบดังกลาวจะนําไปสูเสรีภาพที่ไมมีขอบเขตของ

              ผูที่แข็งแรงกวาหรือผูที่มีฐานะในทางเศรษฐกิจสูงกวา ซึ่งเปนผูมีอํานาจจริง ๆ ในสังคม และบุคคลเหลานี้จะเปน
              ผูกําหนดความเปนไปในสังคมตามอําเภอใจโดยไมคํานึงถึงผูที่มีฐานะออนแอกวาแตประการใด

                                 ตัวอยางเชน ในเรื่องการทําสัญญาในนิติรัฐนั้นจะอนุญาตใหคูสัญญาทําความตกลงกําหนด

              เงื่อนไขตาง ๆ เพื่อประโยชนของตนไดทุกกรณีในสิ่งที่ตนสามารถจะบรรลุผลได กรณีนี้ยอมเกิดขึ้นไดกับ
              ผูวางงานซึ่งอยูในชวงเวลาวิกฤติในการดํารงชีพ แตเขาจะไมอยูในฐานะที่จะไดรับยกเวนแตอยางใด ทั้งผูวางงาน

              และนายจางตางก็สามารถใชสิทธิเพื่อประโยชนของตนไดเชนเดียวกัน แตในกรณีนี้คูสัญญาฝายหนึ่งคือ ผูวางงาน
              อยูในฐานะที่ออนแอกวา ไมมีพลังใด ๆ มาตอรองในการทําสัญญา จึงจําเปนอยูเองที่จะตองจํายอมรับตามเงื่อนไข

              ที่นายจางกําหนดใหทุกกรณี ความไมยุติธรรมในกรณีเชนนี้จะไมไดรับการพิจารณาในนิติรัฐเลย ในนิติรัฐฐานะ

              ในทางเศรษฐกิจที่ไมเทาเทียมกันของนายทุนกับคนวางงานจะไมแตกตางกันในทางกฎหมาย เพราะวาทุกคนมีสิทธิ
              เสมอภาคเหมือนกันหมด ไมวาเปนนายทุนหรือคนวางงาน ความเสมอภาคในนิติรัฐแบบดั้งเดิมจึงเปนความ

              เสมอภาคตามรูปแบบตรงกันขาม ความเสมอภาคในความหมายของสังคมนิติรัฐนั้นมิใชความเสมอภาค

              เพียงรูปแบบตามกฎหมายเทานั้น แตทวาตองเปนความเสมอภาคในเสรีภาพตามความเปนจริงดวย กลาวคือ
              องคกรผูออกกฎหมายของรัฐมีหนาที่ตองจัดการใหผูที่มีฐานะออนแอในสังคมมีเสรีภาพในทางความเปนจริง

              และไดรับความคุมครองจากกฎหมายไมนอยไปกวาผูมีอํานาจในสังคมหรือผูที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดีกวา ดังนั้น

              รัฐจะตองคุมครองคนงานโดยกําหนดเงื่อนไขการทํางาน การประกันคาแรงงานขั้นตํ่า และการคุมครองแรงงาน
              โดยมาตรการที่เหมาะสม

                                 นอกจากนั้นกฎหมายคุมครองผูเชา กฎหมายคุมครองเยาวชนก็เปนตัวอยางในกรณีนี้ได
              กฎหมายเหลานี้จํากัดเสรีภาพในการทําสัญญาอยางสําคัญ แตผลในทางความเปนจริงกฎหมายเหลานี้มิได

              ทําใหเสรีภาพของบุคคลลดนอยถอยลง ตรงกันขามกลับทําใหมีเสรีภาพมากขึ้น กลาวคือ ปองกันไมใหมีการใชเสรีภาพ

              ไปในทางที่ผิดโดยคนสวนนอยผูมีอํานาจในทางเศรษฐกิจ ในขณะเดียวกันก็ชวยขยายเสรีภาพในความเปนจริงใหกับ
              ผูที่ออนแอกวาหรือผูที่มีฐานะที่ดอยกวาในทางเศรษฐกิจ ซึ่งไมสามารถจะรักษาหรือปกปองประโยชนอันพึงมีพึงได

              โดยอาศัยกําลังของตนเองได
                                 หลักการทั่วไปของสังคม - นิติรัฐ แบงได 3 ประการ คือ

                                 (1)  รัฐมีหนาที่ตอสังคม ในขอบเขตนี้รัฐมีหนาที่สรางสถาบันกฎหมายทางสังคมให

              สอดคลองกับความจําเปนพื้นฐานของประชาชน ซึ่งเปนเรื่องเกี่ยวกับมาตรการของรัฐในการสงเคราะห การแบงสวน
              การชดเชยหรือทดแทนสําหรับประชาชนที่ไมสามารถชวยตนเองได หรือผูที่มีฐานะออนแอในสังคม อยางไรก็ตาม

              มาตรการดังกลาวของรัฐมิไดจํากัดอยูเฉพาะในขอบเขตปจจัยทางวัตถุเทานั้น แตรวมไปถึงขอบเขตของทาง

              วัฒนธรรมของชาติดวย เชน เรื่องการศึกษา เปนตน
                                 (2)  สิทธิขั้นพื้นฐานเกี่ยวเนื่องกับสังคม หลักการนี้ของสังคม – นิติรัฐ เปนความเกี่ยวพัน

              โดยตรงตอสถานะของสิทธิขั้นพื้นฐาน ดวยเหตุนี้จึงมักจะเรียกหลักการนี้วา “ความเกี่ยวเนื่องกับสังคมของสิทธิ

              ขั้นพื้นฐาน” กลาวคือ โดยทั่วไปจะตองตีความสิทธิขั้นพื้นฐานใหหมายถึงสิทธิเสรีภาพที่เปนจริง นั่นคือ
              มีหลักประกันใหแกทุกคนในมาตรฐานที่เทาเทียมกันที่จะกอใหเกิดโอกาสใชสิทธิเสรีภาพที่เปนจริง



          22
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46