Page 45 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 45

และเปนการเปลี่ยนแปลงจากรัฐเสรีนิยมมาสูรัฐสวัสดิการที่เรียกรองใหรัฐประกันการมีชีวิตที่ดีมีคุณคา

              ตามความเปนมนุษยแกประชาชน และนับเปนชัยชนะของประเทศสังคมนิยมที่ทําใหสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม
              และวัฒนธรรมอยูในฐานะเดียวกับสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง โดยการระบุสิทธิเหลานี้ลงในปฏิญญาฯ

              และกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ค.ศ. 1966

                                 สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมปรากฏในปฏิญญาฯ ตั้งแตขอ 22 ถึงขอ 27
                                                                                                          79
              ประกอบดวย สิทธิในการเขาถึงทรัพยากรของรัฐการไดรับผลแหงสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่จําเปน

              ตอการพัฒนาตนเอง สิทธิเกี่ยวกับการทํางานและไดรับความคุมครองจากการวางงาน สิทธิที่จะจัดตั้งและเขารวม
              กับสหภาพแรงงาน สิทธิในการพักผอนและเวลาวาง การจํากัดเวลาทํางานและมีวันหยุดเปนครั้งคราวโดยไดรับ

              คาตอบแทน สิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอสําหรับสุขภาพและความอยูดีของตนและครอบครัว สิทธิของ

              มารดาและบุตรที่จะไดรับการดูแลและชวยเหลือเปนพิเศษทั้งบุตรในและนอกสมรส สิทธิในการศึกษา และ
              สิทธิในการเขารวมการใชชีวิตทางดานวัฒนธรรมอยางเสรี

                                 สําหรับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทาง

                                                                         80
              เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ค.ศ. 1966 ปรากฏอยูในขอ 1 ถึง ขอ 15  ของกติกาฯ ประกอบไปดวย สิทธิในการ
              กําหนดเจตจํานงของตนเอง สิทธิในความเทาเทียมกันระหวางชายหญิงในสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

              สิทธิในการทํางาน สิทธิในการไดรับสภาวะการทํางานที่เปนธรรม สิทธิในการกอตั้งและเขารวมสหภาพแรงงาน

              สิทธิในการหยุดงาน สิทธิในความมั่นคงทางสังคมและการประกันสังคม สิทธิในการปกปองคุมครองครอบครัว เด็ก
              และเยาวชน สิทธิในการมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ สิทธิในการมีมาตรฐานสุขภาพและจิตใจที่ดี สิทธิในการ

              ศึกษา และสิทธิในวัฒนธรรมและความกาวหนาทางวิทยาศาสตร
                           2)    องคกรกรที่คุมครองสิทธิมนุษยชน

                                 (1)  องคกรระดับระหวางประเทศหรือระดับสากล

                                  -  องคกรของสหประชาชาติ     81
                                    องคกรของสหประชาชาติที่มีบทบาทและอํานาจหนาที่ในการปกปองและคุมครอง

              สิทธิมนุษยชน ไดแก สมัชชาใหญสหประชาชาติ คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
              คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ คณะกรรมาธิการวาดวยสถานภาพของสตรี คณะกรรมาธิการวาดวย

              สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม คณะอนุกรรมาธิการวาดวยการปองกันการเลือกปฏิบัติและการปกปอง

              ชนกลุมนอย ขาหลวงใหญสิทธิมนุษยชนแหงสหประชาชาติ องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหง
              สหประชาชาติ ซึ่งแตละองคกร มีบทบาทและอํานาจหนาที่ในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ดังนี้

                                    ก. สมัชชาใหญสหประชาชาติ สมัชชาใหญสหประชาชาติ ประกอบดวย ผูแทนจาก

              สมาชิกทั้งปวงของสหประชาชาติ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน ดังนี้ ริเริ่มศึกษาและ
              ทําคําแนะนําหรือขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อใหบรรลุซึ่งสิทธิขั้นพื้นฐานทั้งปวงแกประชาชน ผานมติอนุมัติตราสาร

              สิทธิมนุษยชนระหวางประเทศที่สําคัญ เชน ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน กติการะหวางประเทศวาดวย


              79  คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ. เอกสารสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ.อางแลว  เชิงอรรถที่ 6. น. 23 - 27.
              80  เพิ่งอาง, น. 30 -51.
              81  รายละเอียดโปรดดูใน จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 412  441.

          26
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50