Page 46 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 46

สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

               กอตั้งองคกรยอยที่ทํางานเกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน เคลื่อนไหวตอสูระดับสากลตอลัทธิเผาพันธุนิยมและ
               ลัทธิลาอาณานิคม ตลอดจนการมีมติประณามอยางเปดเผยตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นในบางประเทศ

                                     ข. คณะมนตรีความมั่นคง คณะมนตรีความมั่นคงถือเปนองคกรสูงสุดที่มีความ

               รับผิดชอบพื้นฐาน ในการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ ประกอบดวย สมาชิกถาวรซึ่งเปน
               ประเทศมหาอํานาจสําคัญ 5 ประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส สหพันธรัฐรัสเซีย และ

               สาธารณรัฐประชาชนจีน และสมาชิกไมถาวรที่มาจากการเลือกตั้งอีก 6 ประเทศ มีอํานาจหนาที่ในการคุมครอง
               สิทธิมนุษยชนกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่กอใหเกิดการคุกคามตอสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ

               เชน ปญหาเกี่ยวกับอาชญากรรมตอมนุษยชาติในยูโกสลาเวียและรวันดา ซึ่งมีลักษณะเปนการฆาลางเผาพันธุ

               คณะมนตรีความมั่นคงไดกอตั้งศาลอาญาระหวางประเทศเพื่อพิจารณาลงโทษบุคคลที่รับผิดชอบตอการฆา
               ลางเผาพันธุหรือละเมิดกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศอยางรุนแรง เปนตน

                                     ค. คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ประกอบดวย

               กรรมการ 55 คน นอกจากมีอํานาจหนาที่ดานการพัฒนาแกไขปญหาเศรษฐกิจระหวางประเทศแลว ยังมีหนาที่
               ที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ ดานสิทธิมนุษยชนในรูปของการทําขอแนะนําที่เกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครอง

               สิทธิมนุษยชนทั่วไป รับรองรายงาน ทํากิจกรรมรวมและสรุปความตกลงตาง ๆ จากหนวยงานชํานาญการของ

               สหประชาชาติซึ่งทํางานเกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน และหนาที่ที่สําคัญยิ่งดานสิทธิมนุษยชนของคณะมนตรีฯ คือ
               การใชอํานาจแตงตั้งคณะกรรมการตาง ๆ ขึ้นทํางานเปนการเฉพาะ ที่สําคัญคือ การตั้งคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน

               คณะอนุกรรมการวาดวยการปองกันการเลือกปฏิบัติและการปกปองชนกลุมนอย คณะกรรมาธิการวาดวย
               สถานภาพของสตรี และอํานาจหนาที่ในการรับรองใหมีมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม ที่ 1235

               ในป ค.ศ. 1967 และมติฯ ที่ 1503 ในป ค.ศ. 1970 ซึ่งเปนมติที่ใหอํานาจแกคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนในการ

               ตรวจสอบศึกษาอยางจริงจังตอการละเมิดสิทธิมนุษยชนในรูปนโยบายแบงแยกผิวและการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ
               และใหอํานาจแกคณะอนุกรรมการวาดวยการปองกันการเลือกปฏิบัติและการปกปองชนกลุมนอยในการพัฒนา

               กลไกรับเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากเอกชนและกลุมคนได
                                     ง. คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ คณะกรรมาธิการสิทธิ

               มนุษยชนของสหประชาชาติ ประกอบดวยตัวแทนรัฐสมาชิก 53 คน โดยที่คณะกรรมาธิการฯ เปนเสมือนองคกร

               ยอยหนึ่งของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการฯ จึงมีหนาที่ตองยื่นขอเสนอ คําแนะนํา ตลอดจน
               รายงานเพื่อใหคณะมนตรีเศรษฐกิจฯ พิจารณา ตั้งแตเรื่องที่เกี่ยวกับตราสารสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศทั้งปวง

               การปกปองชนกลุมนอยและการปองกันการเลือกปฏิบัติและเรื่องตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน การชวยเหลือ

               คณะมนตรีเศรษฐกิจฯ ในการประสานงานกิจกรรมเคลื่อนไหวดานสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ การตรวจสอบ
               ศึกษาปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานอยางรายแรง รวมถึงนโยบายการเลือกปฏิบัติ

               ทางเชื้อชาติการแบงแยกพลเมืองและการแบงแยกผิวในทุกประเทศ และการดําเนินการสืบสวนคํารองเรียนจาก

               เอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนซึ่งบงชี้ถึงการละเมิดสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานที่เปนไปอยางรุนแรง
               ตอเนื่องและมีเหตุอันนาเชื่อถือ เปนตน



                                                                                                               27
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51