Page 36 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 36

ศึกษาคนควาหรือสอบถามใคร โดยอาศัยเหตุผลและสติปญญาที่มีอยูในตัวมนุษยในการหยั่งรูและคนหากฎหมาย

               ดังกลาว
                             2)  แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิธรรมชาติ

                                แนวคิดเรื่อง “สิทธิธรรมชาติ” (Natural Rights) เปนแนวคิดระยะเริ่มตนของแนวคิดเรื่อง

               สิทธิมนุษยชนในสมัยปจจุบันและเปนแนวคิดที่สืบเนื่องมาจากแนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติที่เชื่อในความ
               มีเหตุผลในธรรมชาติ ความมีเหตุผลของมนุษยและเชื่อวาเหตุผลของมนุษยเปนสวนหนึ่งของเหตุผลในธรรมชาติ

               และนักปรัชญากฎหมายธรรมชาติใหความสําคัญกับสิทธิธรรมชาติเปนอยางมากในฐานะเปนแนวคิดที่เกี่ยวของ
               กับแนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติอยางยิ่ง

                                เริ่มตนที่นักคิดกลุม Stoics นักคิดในสมัยกรีก อธิบายวา  เมื่อจักรวาลถูกกํากับอยูดวยเหตุผล
                                                                              52
               และโดยที่มนุษยเปนสวนหนึ่งของจักรวาล มนุษยทุกคนในทุกหนทุกแหงจึงยอมอยูภายใตบังคับหรือในกํากับ
               แหงกฎแหงเหตุผลหรือกฎหมายธรรมชาติอยางเดียวกัน และมนุษยในฐานะที่ตางมีเหตุผลและรูผิดชอบชั่วดี

               เหมือน ๆ กัน มนุษยทุกคนจึงมีความเสมอภาคเทาเทียมกันในสภาวะธรรมชาติ การแบงแยกคนออกเปนเชื้อชาติ

               วาเปนกรีกสวนหนึ่ง สวนชาติอื่นเปนคนปา สวนหนึ่งเปนนายอีกสวนหนึ่งเปนทาส จึงเปนสิ่งที่ไมถูกตองตามหลัก
               กฎหมายธรรมชาติ และในความเสมอภาคเทาเทียมกันของมนุษยทุกคนโดยไมแบงแยกเชื้อชาติ เผาพันธุ หรือ

               ศาสนาดังกลาว นักคิดกลุม Stoics อธิบายวามนุษยทุกคนตางมีสิทธิอยางหนึ่งเหมือนกันที่เรียกวา “สิทธิธรรมชาติ”

               อันเปนสิทธิที่ตกอยูกับบุคคลทุกคนและตลอดไป ไมใชสิทธิสําหรับประชาชนกลุมใดกลุมหนึ่งโดยเฉพาะ แตเปน
               สิทธิที่มนุษยทุกคนทุกสถานที่ตางไดรับ ทั้งนี้ โดยเหตุที่วาเขาเหลานั้นเปนมนุษย 53

                                ตอมา แนวคิดเรื่องสิทธิธรรมชาติไดปรากฏชัดในแนวคิดของ John Locke นักคิดในสมัยใหม
               ในรูปของทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ โดย Locke ไดพัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้นมาเพื่อเปนอาวุธทางความคิดในการตอสูทาง

                                                  54
               การเมืองและลมลางอํานาจกษัตริยอังกฤษ  โดย Locke ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษยในสภาวะ
               ธรรมชาติไววา  มนุษยในสภาวะธรรมชาติมีเสรีภาพโดยสมบูรณไมมีขอจํากัด มนุษยทุกคนจึงมีความเทาเทียมกัน
                           55
               และดวยความที่มนุษยมีธรรมชาติที่ดี คือ เปนคนดีมีเหตุผล มนุษยจึงใชเหตุผลที่มีทําความเขาใจกฎหมาย

               ธรรมชาติได และทําใหมนุษยรูจักเคารพความเสมอภาคและเสรีภาพซึ่งกันและกัน คือ รูวาแตละคนไมควรลวง
               ละเมิดชีวิต รางกาย เสรีภาพ และทรัพยสินของกันและกัน แตเนื่องจากความเทาเทียมกันและมีเสรีภาพของมนุษย

               แตละคนโดยไมจํากัดดังกลาว ทําใหมีการลวงละเมิดหรือกระทบกระทั่งสิทธิของผูอื่นอยูเสมอ ๆ และมนุษยแตละคน

               ก็มีอํานาจที่จะบังคับการใหเปนไปตามสิทธิที่ตนมีตามธรรมชาติและลงโทษผูกระทําความผิดดวยกําลังของตนเอง
               ทําใหการมีชีวิตอยูในสภาวะธรรมชาติเชนนี้ขาดความแนนอนชัดเจนไมมีหลักประกันและไมมีความมั่นคงปลอดภัย

               ในชีวิตรางกาย เสรีภาพ และทรัพยสินที่แตละคนมีตามธรรมชาติ ดังนั้น เพื่อความมั่นคงปลอดภัย ยุติปญหา

               ความขัดแยงและความไมสงบเรียบรอยตาง ๆ ที่มีอยูในสภาวะธรรมชาติ มนุษยจึงตกลงเขาทําสัญญาอยูรวมกัน





               52  ปรีดี  เกษมทรัพย, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 123.
               53  กุลพล  พลวัน, สิทธิมนุษยชนในสังคมโลก, ( กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพนิติธรรม, 2547), น. 8.
               54  จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 7, น. 110.
               55  ปรีดี  เกษมทรัพย, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 208 – 209.

                                                                                                               17
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41