Page 38 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 38

เหนือกวา โดยเฉพาะในชวงระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 จนเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 2 ถือไดวาเปนยุคหฤโหด

               สําหรับมนุษยชาติ ประชาชนพลเมืองนับลาน ๆ คนถูกกดขี่และเขนฆาโดยรัฐบาลของตนเองอยางทารุณ ทั้งนี้
               เนื่องจากการเกิดขึ้นของลัทธิชาตินิยมและลัทธิเหยียดเผาพันธุอื่น ๆ (Xenophobia) จึงนําไปสูการปกครองแบบ

                                                                                                           58
               เผด็จการทหารแบบเบ็ดเสร็จ ไมวาจะเปนรัฐบาลฟาสซิสตในอิตาลี นาซีในเยอรมันและอีกหลายๆ ประเทศ
               และที่สะเทือนใจมนุษยชาติมากที่สุดคือ การฆาลางเผาพันธุชาวยิวโดยฮิตเลอรในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2
               จากความโหดรายระหวางมนุษยดวยกันดังกลาวจึงไดมีการเรียกรองใหมีการคุมครองสิทธิมนุษยชนขึ้นในระดับ

               ภายในประเทศและในระดับระหวางประเทศ โดยมีรากฐานความคิดในการเรียกรองใหมีการคุมครองสิทธิมนุษยชน
               มาจากหลักนิติรัฐและหลักสังคม กลาวคือ

                                1)  หลักนิติรัฐ

                                    หลักนิติรัฐถือเปนหลักการพื้นฐานที่สําคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
               ถึงขนาดกลาวกันวา “การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่แทจริงจะมีขึ้นและดํารงอยูตลอดไปไมได โดยปราศจาก

               หลักนิติรัฐและเฉพาะแตรัฐที่มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยเทานั้น จึงจะควรคาแกการเรียกวา “นิติรัฐ”
                                                                                                           59
               (Rechtsstaat หรือ L’ Etat de Droit หรือ The Rule of Law) เปนคําที่นักประวัติศาสตรและนักปรัชญาการเมือง
               ทางตะวันตกใชเรียกรัฐประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นในชวงคริสตศตวรรษที่ 18 ซึ่งยอมรับรองและใหความคุมครอง

               สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของราษฎรไวในรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ เพื่อที่ราษฎรจะไดใชสิทธิเสรีภาพเชนวานั้นพัฒนา

                                                                   60
               บุคลิกภาพของตนไดตามที่ราษฎรแตละคนจะเห็นสมควร   ตามแนวความคิดของลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม
               (Individualism) ที่เชื่อมั่นในความสามารถและศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษยที่เทาเทียมกันของปจเจกชนแตละคน

               และลัทธิเสรีนิยม ที่เชื่อและถือมั่นในความมีคุณคาและความสามารถที่จะพัฒนาไปสูคุณคานั้นไดดวยตัวเองของ
                                                                                     61
               มนุษย แตละคนถาไดรับโอกาสที่จะเลือกวิถีทางในการดําเนินชีวิตของตนไปไดโดยเสรี  ซึ่งรัฐจะตองเคารพตอสิทธิ
               เสรีภาพขั้นพื้นฐานของพลเมือง เพื่อปองกันสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานนี้จากการใชอํานาจตามอําเภอใจของรัฐ

               รัฐมีอํานาจจํากัดโดยตองยอมตนอยูภายใตกฎหมายอยางเครงครัด  กลาวคือ กรณีที่รัฐจะลวงลํ้าสิทธิขั้นพื้นฐาน
                                                                      62
               ของประชาชนตองมีกฎหมายใหอํานาจจึงจะกระทําได  และกระทําไดภายในขอบเขตที่กฎหมายกําหนดไวเทานั้น
                                                           63
                                   Robert von Mohl, Carl Welcker และ Johann Christoph Frisherr von Aretin
               นักคิดที่สําคัญของเยอรมันไดใหความหมายของคําวา “นิติรัฐ” วาหมายถึง รัฐแหงความมีเหตุผล อันเปนรูปแบบ






               58   วิชัย  ศรีรัตน, อางแลว เชิงอรรถที่ 17, น. 27.
               59   Michel FROMONT, Alfred RIEG, (SOUS la direction de), Introduction au droit allemande, Tome ll, Droit public - Droit privé, op.Cit.,p.13.
                 อางถึงใน วรพจน  วิศรุตพิชญ, สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, 2543),
                 น. 65 -66.
               60   วรพจน  วิศรุตพิชญ, ขอคิดและหลักการพื้นฐานในกฎหมายมหาชน, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพวิญูชน, 2540), น. 1.
               61  กนิษฐา เชี่ยววิทย, “การควบคุมตรวจสอบความชอบดวยรัฐธรรมนูญของกฎหมายที่ตราขึ้นโดยองคกรนิติบัญญัติโดยองคกรตุลาการ,” (วิทยานิพนธ
                 มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2533), น. 76 - 77.
               62  สมยศ  เชื้อไทย และวรพจน  วิศรุตพิชญ, “แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย” วารสารนิติศาสตร, ฉบับที่ 3, ปที่ 14, น. 44
                (กันยายน 2537).
               63  สมยศ เชื้อไทย, คําอธิบายวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ, เอกสารประกอบการสอนชั้นปริญญาโท วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญชั้นสูง, (คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัย
                 ธรรมศาสตร, 2547), น. 87.

                                                                                                               19
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43