Page 42 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 42
(3) ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันระหวางรัฐกับสังคม หลักการนี้พัฒนามาจากหลักการ
ของสังคมรัฐซึ่งเกี่ยวพันอยูกับหลักประชาธิปไตย ตามหลักการนี้จะเรียกรองใหรัฐผูกพันกับสังคมแบบพื้นฐานของ
การจัดองคกรแบบประชาธิปไตย
1.2.2 หลักการคุมครองสิทธิมนุษยชน
การคุมครองสิทธิมนุษยชนในระยะเริ่มตนเปนการคุมครองในระดับภายในประเทศและเปนเรื่อง
ภายในของประเทศนั้น ๆ วาจะใหความคุมครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนในประเทศ ไวมากนอยเพียงใดก็ได
ตามที่เห็นสมควรและหากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของประชาชนก็ถือเปนเรื่องภายใน (Domestic Jurisdiction)
ที่ประเทศอื่น ๆ ไมอาจเขาไปสอดสองดูแลหรือใหการชวยเหลือได มิฉะนั้นจะถือวาเปนการกาวลวงหรือแทรกแซง
กิจการภายในของประเทศอื่น ๆ อันเปนการขัดตอหลักกฎหมายระหวางประเทศ ซึ่งอาจนําไปสูการขัดแยงหรือ
72
มีกรณีพิพาทกันระหวางประเทศ เริ่มตนจากการจัดทําสาสนรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศอังกฤษ
ที่เรียกวา “มหากฎบัตรแมกนาคารตา” (Magna Carta) ตามมาดวยคําประกาศอิสรภาพ (The Declaration of
Independence) และรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา และปฏิญญาวาดวยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง (Declaration
des Droits de l’ Houmme et du Citoyen) ของฝรั่งเศส แตเนื่องจากในชวงระยะเวลากอนและระหวาง
สงครามโลกครั้งที่สองไดเกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรงในประเทศตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการฆากัน
เพื่อลางเผาพันธุที่เยอรมัน ญี่ปุน รัสเซีย ฯลฯ จึงทําใหเกิดความคิดที่จะผลักดันใหเรื่องของสิทธิมนุษยชนเปนเรื่อง
ระหวางประเทศหรือเปน “สิทธิระหวางประเทศ” (International Rights) ที่ทุกประเทศตองเขาไปดูแลชวยเหลือ
เพื่อยกระดับมาตรฐานการคุมครองสิทธิมนุษยชนใหดียิ่งขึ้นและรวมมือกันดําเนินการกับประเทศที่กระทําการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนของประชาชนภายในประเทศของตนหรือประชาชนประเทศอื่น ๆ โดยถือวาการเขา
แทรกแซงนั้นชอบดวยหลักกฎหมายระหวางประเทศ ดังนั้น ปจจุบันรัฐใดรัฐหนึ่งจึงไมอาจอางไดวาสิทธิมนุษยชน
73
เปนเรื่องที่ “ตกอยูเขตอํานาจภายในของรัฐ” (Domestic Jurisdiction) ของตนโดยเด็ดขาดไดอีกตอไป แตไดวิวัฒนาการ
มาเปน “สิทธิระหวางประเทศ” (International Rights) ที่รัฐซึ่งเปนภาคีแหงขอตกลงระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน
อาจอางขอตกลงนั้น ๆ เขาตรวจสอบหรือมีมติใหใชมาตรการอยางใดอยางหนึ่งเพื่อยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน
หรือแกไขเยียวยาความเดือดรอนอันเกิดจากการละเมิดสิทธิมนุษยชนในรัฐใดรัฐหนึ่งได 74
1) สิทธิมนุษยชนที่ไดรับความคุมครอง
การคุมครองสิทธิมนุษยชนปรากฏเปนรูปธรรมขึ้นดวยความรวมมือกันระหวางประเทศตาง ๆ
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลงโดยไดมีการจัดตั้งองคการสหประชาชาติขึ้นเพื่อทําหนาที่ในการขจัด
ภัยพิบัติอันเกิดจากสงคราม คุมครองสิทธิมนุษยชน และสงเสริมความกาวหนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
มวลมนุษยชาติ และไดมีการจัดทํากฎบัตรสหประชาชาติในฐานะธรรมนูญสําหรับการดําเนินงานของสหประชาชาติขึ้น
และในกฎบัตรฯ ดังกลาว ไดแสดงใหเห็นเจตนารมณรวมกันของแตละประเทศในความตองการที่จะใหมี
72 กุลพล พลวัน, อางแลว เชิงอรรถที่ 3, น. 22 23.
73 เพิ่งอาง, น. 23.
74 เพิ่งอาง, น. 5.
23