Page 37 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 37

เปนสังคมและจัดตั้งรัฐบาลขึ้นทําหนาที่ปกครอง รักษาความสงบเรียบรอยและอํานวยความยุติธรรมใหเกิดขึ้น

              ในสังคมที่เรียกวา สัญญาประชาคม (Social Contract)
                               สัญญาประชาคม (Social Contract) ของ John Locke  เปนสัญญาประชาคมแบบสัญญา
                                                                               56
              สหภาพ กลาวคือ เปนสัญญาที่ประชาชนแตละคนตกลงโอนอํานาจบางสวนของตน ซึ่งไดแก อํานาจบังคับการ

              ตามกฎหมายธรรมชาติใหแกรัฐบาลหรือรัฐ ซึ่งไดจัดตั้งขึ้นตามสัญญาแตทุกคนยังคงสงวนสิทธิในชีวิต เสรีภาพ
              และทรัพยสินอันเปนสิทธิขั้นพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษยไว ดังนั้น รัฐที่จัดตั้งขึ้นตามสัญญาประชาคม

              ตามแนวคิดของ John Locke จึงมีอํานาจจํากัดเฉพาะรักษาความสงบเรียบรอยและอํานวยความยุติธรรม
              ใหเกิดขึ้นในสังคมเทานั้น ทั้งนี้ เพื่อธํารงรักษาไวซึ่งสิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพยสินของประชาชน และรัฐก็

              ไมสามารถใชอํานาจไปทําลายหรือลวงละเมิดสิทธิเหลานี้ได เพราะสิทธิเหลานั้นเปนสิทธิตามธรรมชาติของมนุษย

              ที่ติดอยูกับความเปนมนุษย จึงไมอาจถูกพรากและจําหนายจายโอนใหแกกันได และเมื่อใดที่รัฐใชอํานาจไปทําลาย
              หรือลวงละเมิดสิทธิดังกลาว ถือวารัฐไดทําผิดเงื่อนไขที่ตกลงไวในสัญญาประชาคมหรือเปนการฝาฝนความไววางใจ

              ของประชาชนตามสัญญาซึ่งถือเปนเงื่อนไขสําคัญแหงการมีอํานาจของรัฐ ประชาชนยอมมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะ

              ปฏิวัติลมลางผูปกครองที่ผิดสัญญานั้นได
                               จากแนวคิดเรื่องสัญญาประชาคมของ John Locke ดังกลาว จะเห็นวา Locke ไดยอมรับวา

              ในสภาวะตามธรรมชาติของมนุษยมีสิทธิบางอยางที่ติดอยูกับความเปนมนุษยทุกคนมาแตกําเนิดที่เรียกวา

              “สิทธิธรรมชาติ” คือ สิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพยสิน ที่ไมมีผูใดจะพรากหรือจําหนายจายโอนสิทธิดังกลาวไป
              จากมนุษยหรือโอนใหแกกันได แมกระทั่งรัฐหรือผูปกครองเองก็ไมอาจใชอํานาจลวงลํ้าหรือทําลายสิทธิดังกลาว

              ของประชาชนได และเปนหนาที่ของรัฐหรือผูปกครองที่จะตองธํารงรักษาไว ซึ่งสิทธิธรรมชาติของมนุษยไมใหมีการ
              ลวงลํ้าสิทธิดังกลาวระหวางมนุษยดวยกัน และจากแนวคิดดังกลาวของ Locke นับเปนการปรากฏตัวอยางชัดเจน

              ของแนวคิดเรื่องสิทธิธรรมชาติและไดพัฒนาเรื่อยมาเปนแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนและการคุมครองสิทธิมนุษยชน

              ในความหมายปจจุบัน
                               จากที่ไดกลาวมาขางตนจึงอาจสรุปไดวา สิทธิธรรมชาติหรือสิทธิตามธรรมชาติ  หมายถึง
                                                                                                  57
              สิทธิที่มนุษยแตละคนมีติดตัวมาตามธรรมชาติ เชน สิทธิในชีวิต สิทธิในรางกาย สิทธิดังกลาวนี้มนุษยแตละคนมีอยู
              โดยไมขึ้นอยูกับรัฐและไมขึ้นอยูกับกฎหมายบานเมือง กลาวคือ เปนสิทธิที่มีอยูกอนมีรัฐนั่นเอง


              1.2  แนวคิดเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน


                     1.2.1  รากฐานความคิดเกี่ยวกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน

                            จากแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนตามที่กลาวมาขางตน จะเห็นวาแนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนไมใช

              เรื่องใหม แตเปนแนวคิดที่มีมานานแลวตั้งแตสมัยกรีกโรมัน โดยอยูในรูปแบบของสิทธิธรรมชาติและพัฒนามาเปน
              สิทธิมนุษยชนในปจจุบัน และมนุษยไดกลาวอางสิทธิมนุษยชนเพื่อการปลดปลอยความเปนอิสรภาพและเรียกรอง

              ความเทาเทียมกันของมนุษยจากการถูกกดขี่ขมเหง เอารัดเอาเปรียบ และทารุณกรรมตาง ๆ ของฝายที่สูงและ



              56  สมยศ  เชื้อไทย, อางแลว เชิงอรรถที่ 37, น. 101 - 102.
              57  วรเจตน  ภาคีรัตน, “หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม.” http://www.pub-law.net.

          18
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42