Page 43 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 43

การคุมครองสิทธิมนุษยอยางจริงจังในระดับระหวางประเทศ ดังจะเห็นไดจากการยืนยันความเชื่อมั่นในสิทธิมนุษยชน

              และหนาที่ของบรรดารัฐสมาชิกในการสงเสริมและสนับสนุนการเคารพตอสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐาน
              แกบุคคลทุกคนเสมอหนากันโดยปราศจากความแตกตางทางดานเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา และไดมี

              การจัดทําสาสนระดับระหวางประเทศเพื่อรับรองและคุมครองสิทธิมนุษยชนตามมามากมาย

                                 เริ่มตนที่ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนเพื่อเปนมาตรฐานกลางสําหรับทุกประเทศ
              ที่เปนสมาชิกขององคการสหประชาชาติยึดถือเปนแนวทางในการคุมครองสิทธิมนุษยชน ทั้งในระดับสากล ภูมิภาค

              และระดับภายในประเทศของแตละประเทศและถือเปนเอกสารรับรองสิทธิมนุษยชนที่สําคัญที่สุดของ
              มวลมนุษยชาติเพราะนับเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรที่นานาประเทศไดพรอมใจกันรวมจัดทําและรับรองเอกสาร

              รับรองสิทธิของมนุษยชาติ ทําใหสิทธิมนุษยชนซึ่งเดิมถือเปนเรื่องภายในของแตละประเทศกลายมาเปน

              สิทธิระหวางประเทศที่ทุกประเทศที่เปนสมาชิกสามารถเขามาสอดสองดูแลและเขาแกไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              ในประเทศใดประเทศหนึ่งที่เปนสมาชิกที่ขัดตอหลักการในปฏิญญาฯ ได แตโดยที่ปฏิญญาฯ มิใชขอตกลง

              ระหวางประเทศดังเชน สนธิสัญญา อนุสัญญา หรือกติการะหวางประเทศ จึงไมกอใหเกิดพันธะทางกฎหมายแกบรรดา

              รัฐทั้งหลายที่รวมกันลงมติรับรองใหประกาศใชใหตองปฏิบัติตาม เปนแตเพียงความผูกพันทางจริยธรรมทางการเมือง
              ระหวางประเทศ ที่ทุกประเทศควรใหความเคารพและปฏิบัติใหสอดคลองไมขัดแยงกับหลักการในปฏิญญาฯ

              ใหมากที่สุดเทาที่จะทําไดเทานั้น ไมมีสภาพบังคับทางกฎหมายแตอยางใด เพื่อใหการคุมครองสิทธิมนุษยชน

              ในประเทศตาง ๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและไดผลจริงตามเจตนารมณของปฏิญญาฯ องคการสหประชาชาติ
              จึงไดดําเนินการทําใหสิทธิมนุษยชนตามที่ระบุไวในกฎบัตรสหประชาชาติและปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน

              มีผลเปนสิทธิตามกฎหมายอยางเปนระบบและเปนมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก ทั้งนี้ โดยการจัดทําขอตกลงระหวาง
              ประเทศเพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงและมีผลผูกพันรัฐภาคีทุกรัฐ เชน กติการะหวางประเทศ

              วาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

              อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก อนุสัญญาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะกติกา
              ระหวางประเทศวาดวยสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ

              สังคม และวัฒนธรรม ไดนําสิทธิสําคัญ ๆ ในปฏิญญาฯ มารวมไวเกือบทั้งหมดและจําแนกสิทธิแตละชนิดออกโดย
                     75
              ละเอียด  และเมื่อพิจารณาจากปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 ในฐานะที่เปนมาตรฐานกลาง
              ในการรับรองและคุมครองสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศและกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและ

              สิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966 กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ค.ศ. 1966
              จะเห็นวาสิทธิมนุษยชนที่ไดรับการรับรองคุมครองซึ่งถือเปนสิทธิมนุษยชนทั่วไปแบงไดเปน 2 ประเภทใหญ ๆ

              คือ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม นอกจากนี้ ยังมีสิทธิมนุษยชน

              เฉพาะเรื่องที่ไดรับการรับรองคุมครองตามขอตกลงระหวางประเทศตาง เชน อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก เปนตน
              แตในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองและสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในฐานะ

              ที่เปนสิทธิมนุษยชนทั่วไปเทานั้น คือ




              75  เพิ่งอาง, น. 28 - 33.


          24
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48