Page 34 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 34

Reason) กลาวคือ โลกและเอกภพลวนแตดํารงอยูอยางมีระเบียบมีกฎเกณฑมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

               อยางมีเหตุผล เพราะโลกและเอกภพดําเนินไปโดยถูกจัดระเบียบจากสิ่งที่มีคุณภาพทางสติปญญาที่เรียกวา
               เหตุผลสากล และโดยที่มนุษยเปนสวนหนึ่งของจักรวาลและถูกกํากับอยูดวยเหตุผลสากล มนุษยจึงเปนสิ่งที่มี

               เหตุผลเชนเดียวกับสิ่งอื่น ๆ และดวยเหตุผลที่มีอยูในจิตใจนี้ มนุษยจึงสามารถเขาถึงเหตุผลสากลที่มีอยู

                           43
               ในจักรวาลนี้ได  และรูกฎหมายไดโดยใชเหตุผลหรือสติปญญาที่มีในตัวมนุษยคนหากฎหมายธรรมชาติในสมัยกรีก
               และโรมันจึงเปนกฎหมายอุดมคติ (Ideal Law) ที่มนุษยบัญญัติขึ้นซึ่งเปนกฎหมายที่แทจริง (Reality)

               ตองสอดคลองหรือใกลเคียงกับกฎหมายอุดมคติมากที่สุด
                                สมัยกลาง กฎหมายธรรมชาติ คือ เหตุผลและปญญาอันศักดิ์สิทธิของพระผูเปนเจาในสวน

               ที่มนุษยสามารถเขาถึงหรือหยั่งรูไดดวยเหตุผลและสติปญญาของมนุษยที่มีอยูในตัวมนุษยทุกคน  อันเปน
                                                                                                    44
                                                            45
               คุณลักษณะธรรมชาติที่พระเจาประทานใหแกมนุษย และกฎหมายนี้มีหลักเกณฑสําคัญที่สุดที่เปนหลักชี้นํา
               การกระทําตาง ๆ ของมนุษยใหเปนไปตามหลักของเหตุผล คือ หลักเกณฑที่วา “จงทําดี และละเวนความชั่ว” และ

               อะไรดีอะไรชั่วนั้นเปนเรื่องที่มนุษยสามารถวินิจฉัยไดดวยเหตุผลที่มีอยูในตัวมนุษยทุกคน และสิ่งใดที่เปนไปตาม

                                                                                          46
               ความโนมเอียงตามธรรมชาติของมนุษยสิ่งนั้นนับวาเปนสวนหนึ่งของกฎหมายธรรมชาติดวย  เชน ความตองการมี
               ชีวิตรอด ความปรารถนาที่จะอยูรวมกันฉันสามีภริยาระหวางหญิงกับชาย และความตองการอยูรวมกันเปนสังคม

               ดวยความสงบสุข และกฎหมายมนุษยจะตองสอดคลองและไมขัดกับกฎหมายธรรมชาติ ถากฎหมายมนุษยขัดกับ

                                                             47
               กฎหมายธรรมชาติ กฎหมายนั้นยอมไมมีคาเปนกฎหมาย  กฎหมายธรรมชาติในสมัยกลางจึงเปนกฎหมายที่สูงกวา
               (Higher Law) กลาวคือ กฎหมายธรรมชาติเปนกฎหมายที่สูงกวากฎหมายบานเมืองของมนุษย ถากฎหมาย

               บานเมืองขัดหรือแยงกับกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายนั้นยอมไรผลและราษฎรยอมมีสิทธิไมเชื่อฟงผูปกครองได
               เพราะราษฎรมีหนาที่ปฏิบัติตามกฎหมายธรรมชาติเหนือสิ่งอื่นใด  กฎหมายที่มนุษยบัญญัติขึ้นจึงตองอยูใตบังคับ
                                                                     48
               กฎหมายธรรมชาติซึ่งเปนกฎเกณฑที่สูงกวา

                                สมัยใหม กฎหมายธรรมชาติ คือ เหตุผลตามธรรมชาติของมนุษยที่บงบอกวาการกระทําใด
               ถูกหรือผิด ดีหรือชั่ว และกฎหมายดังกลาวยอมมีอยูดวยตนเองไมขึ้นกับใคร และในการพิจารณาวากฎเกณฑใด

               เปนกฎหมายดังกลาวหรือไม พิจารณาไดจากกฎเกณฑนั้นเองวาสอดคลองกับเหตุผลตามธรรมชาติของมนุษย
               ในการอยูรวมกันเปนสังคมหรือไม หากสอดคลองกฎเกณฑนั้นก็เปนกฎหมายธรรมชาติ หากไมสอดคลองกฎเกณฑนั้น

                                          49
               ก็ไมใชกฎหมายธรรมชาติ เชน  หลักการงดเวนไมเอาของผูอื่นมาเปนของตน การรักษาคํามั่นสัญญาที่ใหไว
               แกผูอื่น การชดใชคาเสียหายแกการที่ไดกระทําตอผูอื่นโดยมิชอบ เปนตน และมนุษยไมเพียงแตใชเหตุผลและ
               สติปญญาที่มีอยูในธรรมชาติของมนุษยทําความเขาใจกฎหมายดังกลาวไดเทานั้น แตยังสามารถใชเหตุผลและ





               43  เพิ่งอาง, น. 122, 330.
               44  เพิ่งอาง, น. 155.
               45  จรัญ  โฆษณานันท, อางแลว เชิงอรรถที่ 39, น. 137.
               46  ปรีดี  เกษมทรัพย, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 156 – 157.
               47  สมยศ  เชื้อไทย, อางแลว เชิงอรรถที่ 37, น. 93.
               48  ปรีดี  เกษมทรัพย, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 161.
               49  เพิ่งอาง, น. 197.


                                                                                                               15
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39