Page 33 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 33

และโดยที่มนุษยทุกคนตางลวนไดมาซึ่งคุณสมบัติเดียวกันที่ตางรวมเปนเจาของในสภาวะ

              รวมแหงธรรมชาติ จึงไมอาจยินยอมใหมีการกดบังคับใด ๆ ระหวางมนุษยดวยกันซึ่งมีลักษณะเปนการใหอํานาจ
              ในการทําลายมนุษยดวยกันเองราวกับวาเราถูกสรางขึ้นมาเพื่อประโยชนใชสอยของผูอื่นหรือราวกับ (ผูอื่น)

              เปนสัตวโลกที่ดอยคาตอยตํ่ากวาที่ดํารงอยูเพื่อรับใชเรา...

                               ตามที่พิสูจนมาแลว มนุษยซึ่งกําเนิดขึ้นมาพรอมกับสิทธิเด็ดขาดในเสรีภาพอันสมบูรณ และ
              การไมถูกควบคุมซึ่งการใชสิทธิทั้งมวลและอภิสิทธิ์ตามกฎแหงธรรมชาติในสภาพที่เทาเทียมกับมนุษยอื่น ๆ ในโลก

              ยอมมีอํานาจโดยธรรมชาติไมเพียงการปกปองทรัพยสินของเขากลาวคือ ชีวิต อิสรภาพ และทรัพยสมบัติ ตอการ
              ถูกทําใหเสียหายหรือความพยายาม (ดังกลาว) จากผูอื่น แตยังมีอํานาจในการตัดสินและลงโทษการละเมิดกฎ

              แหงธรรมชาตินั้นตอบุคคลอื่น...”

                               จากคํากลาวอางดังกลาว กฎหมายธรรมชาติดานหนึ่งจึงเปนสัญลักษณของการตอสูเพื่อ
              ความเสมอภาคและความเปนไทอยางสมบูรณของมนุษยชาติ อีกดานหนึ่งก็เปนอาวุธทางทฤษฎีของผูถูกปกครอง

                                                                                         39
              สําหรับการตอสูกับการใชอํานาจของฝายเผด็จการหรือผูปกครองที่ไมเปนธรรมทั้งหลาย  โดยเฉพาะอํานาจ
              ในการออกกฎหมายบานเมืองของผูปกครองที่ผูปกครองตองออกกฎหมายใหสอดคลอง และไมขัดหรือแยงกับ
              กฎเกณฑที่เปนกฎหมายหมายธรรมชาติ โดยเฉพาะกฎเกณฑในเรื่องความมีอิสรภาพ ความเสมอภาค และ

              ความเทาเทียมกันระหวางมนุษย อันถือเปนรากฐานในการกอใหเกิดแนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชนมาจนกระทั่ง

              ปจจุบัน และจากการพิจารณาพัฒนาการทางประวัติศาสตรของแนวความคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติตั้งแตอดีต
              จนถึงปจจุบันจะพบวา การกลาวอางแนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติในยุคแรก ๆ มีแนวโนมไปในทางวางรากฐาน

              ใหแกอํานาจชอบธรรมในการปกครองและความมั่นคงของรัฐสมัยใหมยิ่งกวาการเนนเรื่องสิทธิเสรีภาพของเอกชน
              ในขณะที่การกลาวอางแนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติสมัยใหมจะแสดงออกในรูปของการยกขึ้นอางเปนหลัก

              ในการตอสูเพื่อปกปองสิทธิที่ถือวาเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย เชน สิทธิในชีวิตรางกาย ทรัพยสิน เสรีภาพ

                                                                40
              ความเสมอภาค หรือความมีศักดิ์ศรีเทาเทียมกันของมนุษย  หรือเนนเรื่องสิทธิเสรีภาพของเอกชนนั่นเอง และ
              จากพัฒนาการทางประวัติศาสตรของแนวคิดเรื่องกฎหมายธรรมชาติจะเห็นวาแตละยุคสมัยตางใหความหมาย

              ของคําวากฎหมายธรรมชาติวา หมายถึง เหตุผล แตเปนเหตุผลในความหมายที่แตกตางกัน คือ
                               สมัยกรีกและโรมัน กฎหมายธรรมชาติ เปนเหตุผลที่มีอยูแลวในสภาพธรรมชาติ ไมไดเกิดจาก

              เจตจํานงหรือขึ้นอยูกับอําเภอใจของผูใด และมนุษยเพียงแตใชเหตุผลและสติปญญาที่มีอยูในตัวมนุษยไปคนพบ

                                    41
              กฎหมายเหลานั้นไดเทานั้น  กฎหมายดังกลาวจึงอยูเหนือกฎหมายที่มนุษยบัญญัติขึ้นและมนุษยจะตองไมบัญญัติ
              กฎหมายตาง ๆ ขึ้นใชในบานเมืองใหขัดกับกฎหมายธรรมชาติ หากขัดกฎหมายนั้นก็ไมควรคาแกการไดชื่อวาเปน

                      42
              กฎหมาย  คําวา “เหตุผล” (Ratio, Reason) นี้ ตามความหมายทางปรัชญาสํานัก Stoicism ของกรีก หมายถึง
              ระบบที่เปนระเบียบที่มีอยูเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับระบบของจักรวาลที่เรียกวา “เหตุผลสากล” (Universal




              39  จรัญ  โฆษณานันท, นิติปรัชญา, พิมพครั้งที่ 9, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2537), น. 156.
              40  ปรีดี  เกษมทรัพย, นิติปรัชญา, พิมพครั้งที่ 8, ( กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเดือนตุลา, 2550), น. 206 - 207.
              41  สมยศ  เชื้อไทย, อางแลว เชิงอรรถที่ 37, น. 74.
              42  ปรีดี  เกษมทรัพย, อางแลว เชิงอรรถที่ 40, น. 126.

          14
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38